Page 50 - 4 EDIT โรงเรียนสร้างคน พลเมืองสร้างชาติ The Series เล่ม 1 (2559).indd
P. 50
2 พื้นที่ ใน 1 อำเภอ
อีกหนึ่งคำสอนพ่อจากหนังสือ ๑o ร้อยพันความคิดถึงพ่อ จากอีเมลของยอดเยี่ยมที่กล่าวไว้ว่า…
“ไม่มีสิ่งใดได้มาอย่างง่ายดายหากไม่มีความมุมานะพยายาม หากจำเป็นจะต้องทุ่มเทจนหมดเหงื่อ
ทุกเม็ด…ก็ต้องยอม”
ทำให้ผู้ประสานพื้นที่อย่างกรรมการศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า
จังหวัดร้อยเอ็ดดำเนินการเปิดพื้นที่ในอีก 1 อำเภอ ให้เป็นพื้นที่แห่งโรงเรียนพลเมือง
…ความพิเศษ เหนือความท้าทาย… คือมีโรงเรียนพลเมืองตั้งอยู่ใน 2 ตำบล แต่ 1 อำเภอ
แม้จะมีโรงเรียนพลเมืองมาแล้ว 2 พื้นที่ แต่ก็ยังคงไม่คุ้นชินกับการมีโรงเรียนพลเมืองพร้อมกันในครา
เดียวของผู้ดำเนินการโรงเรียนพลเมืองอย่างคณะกรรมการศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบัน
พระปกเกล้า จังหวัดร้อยเอ็ด แต่เพราะทนเสียงตอบรับและการร้องขอของพื้นที่ไม่ไหว ขอใจอ่อนให้กับ 2
พื้นที่ต่อมา คือ ตำบลหินกอง และตำบลสระคู อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด (รุ่นใหม่มักไฟแรง) เนื่องจาก
มุ่งหวังขยายผลพลเมืองให้เต็มพื้นที่ จึงเปิดโรงเรียนพลเมืองพร้อมกัน 2 โรงเรียน ใน 1 อำเภอ นับเป็นข้อท้า
ทายใหม่ของผู้ดำเนินการโรงเรียนพลเมือง โดยศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า จังหวัด
ร้อยเอ็ด ก็ว่าได้ เพราะด้วยหลักสูตรที่แต่ละพื้นที่ต้องการนอกเหนือจากวิชาแกนหลักนั้นจะไม่เหมือนกันแล้ว
การจัดสรรเวลาและจัดหาวิทยากร ที่ชำนาญการและเชี่ยวชาญก็เป็นอีกปัจจัยสำคัญ หากแต่ปัญหาคือความท้า
ทาย จึงไม่มีอะไรยากสำหรับผู้ที่มีหัวใจนักพัฒนาอยู่แล้ว การดำเนินการโรงเรียนพลเมือง ในอำเภอสุวรรณภูมิ
ทั้ง 2 ตำบลนี้จึงสามารถดำเนินการได้อย่างราบรื่นอย่างไม่มีที่ติ นักเรียนทุกคนมีความสุขสำเร็จการศึกษา
ตามที่ตั้งใจ ผู้สอนมีความสุข สนุกทุกครั้งที่ไปสอน ทำให้ในปี พ.ศ. 2559 โรงเรียนพลเมืองสามารถดำเนินการ
ไปด้วยความท้าทาย และความสนุกสนาน ยังผลให้เกิดการดำเนินการในปีต่อไปตามมาอย่างไม่มีเสียงคัดค้าน
3.โรงเรียนพลเมืองตำบลหินกอง
…ตำบลน้อย ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่…
…โรงเรียนสร้างคน…
หากจะถามถึงโรงเรียนพลเมืองตำบลหินกองมีอะไรโดดเด่น คงจะไม่มีใครไม่รู้จักนักเรียนพลเมือง
ตัวอย่าง ดังเช่นผู้ใหญ่อภิฉัตร ภูสนาม (ซึ่งผู้เขียนเคยเกริ่นนำเล่า
เรื่องราวของท่านไปบ้างแล้วในหนังสือ10 จังหวัด…พลังพลเมือง โดยศูนย์
ควำมส�ำเร็จเกิดขึ้นจำกตัวเรำก่อน
พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า ) สามารถติดตามหาอ่านกันได้
แล้วใน www.kpi.ac.th / คลังความรู้/หนังสือและบทความ
แค่มีควำมกล้ำ กล้ำที่จะพำตัวเองไปเรียนรู้
วันนี้เราจะกลับมาเล่าเรื่องราวของนักเรียนโรงเรียน
สิ่งใหม่ ๆ
พลเมืองตัวอย่าง ของผู้ชายร่างเล็ก แต่หัวใจนักพัฒนาคนนี้อีกครั้ง
กับ ผู้ใหญ่อภิฉัตร ภูสนาม อดีตผู้ใหญ่บ้านโพนพอุง หมู่ที่ 5 ตำบล
เพียงล�าพัง ให้เกิดผล ดีกว่าร้องแร่แห่กระเจิงให้คนอื่นมาช่วย เมื่อได้ยินค�าว่า “โรงเรียน
30
พลเมือง” มาเปิดในพื้นที่ แต่ก็ไม่ได้สนใจ แต่เพราะตนเองเป็นผู้น�าชุมชน ต้องท�าเป็น
ตัวอย่างให้ลูกบ้านดูก่อน ด้วยความรักสันโดษของตนเอง การด�าเนินวิถีชีวิตที่ผ่านมา
จึงเรียบง่ายและเป็นไปตามแบบฉบับของตนเองคือไม่ขอเกี่ยวข้องกับใคร ท�างานคน
เดียว พัฒนาหมู่บ้านของตนเองคนเดียวเพียงล�าพัง การเข้ามาของ โรงเรียนพลเมือง
สถาบันพระปกเกล้าจึงอาจไม่ใช่สิ่งที่ตนเห็นว่าจะสามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้
จนกระทั่งคดีพลิก ส�านักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า ลงพื้นที่
เปิดหลักสูตร “ชุมชนพลเมืองเข้มแข็ง” ที่ได้เชิญก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�าท้องที่ ท้อง
ถิ่น เข้าร่วมการอบรม ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันเป็นเวลา 4 วัน 3 คืน เต็ม ๆ กับหลักสูตรที่
เน้น ๆ เต็มไปด้วยสาระความรู้ที่มากมายในการพัฒนา ท�าให้สะดุดตา สะดุดใจ ผู้ใหญ่
อภิฉัตร ภูสนาม เข้าอย่างจัง แต่ยังนะ...ยังจะไม่เชื่ออะไรง่าย ๆ จนกว่าจะเห็นด้วยตา
พิสูจน์ด้วยมือ
ค�าถามแรกที่ถามก่อนเข้าอบรมโครงการของสถาบันพระปกเกล้า คือสถาบัน
พระปกเกล้าอยู่สีไหน???...นี้เป็นค�าถามที่ค่อย ๆ หาค�าตอบไปพร้อม ๆ กับคนอื่น ๆ ที่
เข้ารับการอบรมด้วยกันในวันนั้น จนในที่สุดก็ได้ค�าตอบ (อาจจะไม่บอกว่าสีอะไร แต่
เชื่อว่าเราทุกคนรู้กัน) และด้วยลักษณะนิสัยส่วนตัวของตนเองเป็นคนชอบการเรียน
รู้สิ่งใหม่ ๆ และอยากจะพัฒนาหมู่บ้าน แก้ไขปัญหาในหมู่บ้านของตนเอง โรงเรียน
พลเมืองกลับเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ท้าทาย และอยากเรียนรู้อยู่ไม่น้อย
I
38 “โรงเรียนสร้างคน……พลเมืองสร้างชาติ” เล่ม 1 2559