Page 19 - 4 EDIT โรงเรียนสร้างคน พลเมืองสร้างชาติ The Series เล่ม 1 (2559).indd
P. 19
ให้เห็น... จึงเป็นที่มาของการจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า
จังหวัดร้อยเอ็ดขึ้นเมื่อปี 2551 เพื่อให้เกิดการท�างานร่วมกันในพื้นที่ระหว่างภาคประชาชน
และภาครัฐ โดยประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาชุมชนด้วยตนเองอย่าง
เต็มที่ ประชาชนทุกคนมีความสามารถหากแต่ขาดเครื่องมือที่จะช่วยสนับสนุนเท่านั้น
“สิ่งที่มีเรายื่นให้ สิ่งที่ได้มาเราแบ่งปัน” นี้คือคติการท�างานของส�านักส่งเสริมการเมือง
ภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า ที่ยึดถือและด�าเนินการในพื้นที่ร้อยเอ็ดเสมอมา
“โรงเรียนพลเมือง” จึงเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งแห่งการพัฒนาที่ส�านักส่งเสริม
การเมืองภาคพลเมืองมี และยื่นให้ศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า
จังหวัดร้อยเอ็ด
...หากจะแก้โรคร้อยเอ็ดที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดได้นั้นสิ่งแรกที่เร่ง
ด�าเนินการนั้นคือการ “สร้างพลเมือง”…
แน่นอนต้องพบกับค�าถามตามมาอีกว่า???...
…พลเมืองคืออะไร???...
...พลเมืองสร้างได้อย่างไร???...
...พลเมืองเป็นอย่างไร???....
…ท�าไมต้องเป็นพลเมือง???...
และอีกร้อยล้านค�าถามมากมายที่ล้วนต่างสงสัยเกี่ยวค�าว่า “พลเมือง” นี้คง
เป็นค�าถามที่ทุกคนล้วนต้องการหาค�าตอบให้กับตนเองกันทั้งสิ้น
กลยุทธ์ ที่ไม่ธรรมดาของส�านักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง
สถาบันพระปกเกล้าที่ไม่เคยบอกต่อที่ไหนมาก่อนแน่นอนว่าจะไม่บอกว่าพลเมือง
คืออะไร หากอยากเป็นอยากสร้างต้องเข้ามาเรียนรู้ไม่มีใครไปบอกเราหรือไปสอนให้เรา
เป็นพลเมืองได้หากเราไม่ลงมือเรียนรู้เอง โรงเรียนพลเมืองจึงเป็นเครื่องมือหนึ่งใน
การสร้างพลเมืองให้เกิดขึ้นในพื้นที่เนื่องจากการสร้างความเป็นพลเมืองเป็นสิ่งที่ต้อง
ใช้เวลาในการบ่มเพาะและเสริมสร้างอย่างต่อเนื่อง การเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ให้เป็นไปตามความต้องการของคนในชุมชนเป็นหลัก มาเรียนรู้ พัฒนาและแก้ไขปัญหา
ชุมชนไปด้วยกันผ่านการมีส่วนร่วม จึงเป็นเป้าหมายหลักแห่งการสร้างพลเมืองอย่าง
ต่อเนื่องของจังหวัดร้อยเอ็ด
...20 อ�าเภอกับ 16 โรงเรียนพลเมือง... หากจะกล่าวถึงความต่อเนื่อง
และกว้างขวาง ของพื้นที่โรงเรียนพลเมืองในจังหวัดร้อยเอ็ดนั้นนับว่าเป็นการเปิดที่
I
“โรงเรียนสร้างคน……พลเมืองสร้างชาติ” เล่ม 1 2559 7