Page 15 - 4 EDIT โรงเรียนสร้างคน พลเมืองสร้างชาติ The Series เล่ม 1 (2559).indd
P. 15
แผนภำพเนื้อหำหลักสูตรโรงเรียนพลเมือง
เนื้อหำหลักสูตร
วิชำแกนกลำง วิชำท้องถิ่น วิชำเฉพำะกลุ่ม
(พื้นที่ร่วมกันก�ำหนด) (พื้นที่ร่วมกันก�ำหนด)
จัดเวทีระดับ
ควำมคิดเห็นในพื้นที่
จัดกำรเรียน
กำรสอน
ค�าว่า “โรงเรียนพลเมือง” หากใครฟังแรก ๆ อาจจะมีค�าอุทานออกมาดัง ๆ ว่า
“เอ๊ะ....โรงเรียนอะไร???...” ท�าไมตั้งชื่อว่าโรงเรียนพลเมือง และเริ่มต้นมาได้ยังไง???...
“โรงเรียนที่ไม่ใช่โรงเรียน แต่เป็นพื้นที่ ที่ให้ทุกคนเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไป
ด้วยกัน”
โรงเรียนพลเมืองมีจุดเริ่มต้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชที่ด�าเนินโครงการ
ในรูปแบบของโรงเรียนพลเมืองกล่าวคือเป็นการเปิดพื้นที่ให้ชุมชนได้เข้ามาเรียนรู้
ร่วมกันในสิ่งที่สนใจและพัฒนาเป็นศักยภาพความเป็นพลเมืองให้กับคนในพื้นที่
ส�านักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า ได้น�าแนวทางนี้มาประยุกต์
และพัฒนาเป็นหลักสูตรโรงเรียนพลเมืองและเริ่มน�าร่องเปิดโรงเรียนพลเมืองแห่งแรกใน
จังหวัดศรีสะเกษ จนประสบความส�าเร็จจวบถึงปัจจุบันนี้
ต่อมาในช่วงปลายปี พ.ศ.2557 ย่างเข้าปี พ.ศ.ใหม่ อย่างปี พ.ศ.2558
การด�าเนินงานเชิงยุทธศาสตร์ของส�านักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมืองได้เริ่มต้นขึ้น
โดยมองพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นพื้นที่แห่งการบูรณาการ และสร้างให้เป็นพื้นที่ต้นแบบ
หรือที่เรียกกันจนติดปาก ชินหูว่า “ร้อยเอ็ด โมเดล” โดยได้น�าหลักสูตรโรงเรียนพลเมือง
เข้ามาพูดคุย และเสนอให้กับคณะกรรมการศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง
สถาบันพระปกเกล้า จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งส�านักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมืองได้เล็งเห็น
แล้วว่าจังหวัดร้อยเอ็ดสามารถท�าให้เกิดความเป็นพลเมืองได้...
I
“โรงเรียนสร้างคน……พลเมืองสร้างชาติ” เล่ม 1 2559 3