Page 134 - kpi22228
P. 134

126



                       จากการสัมภาษณสมาชิกพรรคเพื่อไทยทานหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญในการหาเสียงเลือกตั้งป 2562

               ยืนยันวาพรรคเพื่อไทยมีการวางแผนในการสื่อสารเหมือนทุกครั้ง คือ ทางพรรคฯ ไดคิดในเรื่องนโยบายดาน
               ตาง ๆ เพื่อสื่อสารกับผูใชสิทธิลงคะแนนเสียง แตหากเทียบกับการเลือกตั้งครั้งกอน ๆ นโยบายของพรรคฯ

               มีความคลุมเครือ ไมชัดเจน หากเมื่อเทียบกับการเลือกตั้งสองครั้งที่ผานมา มีการเมืองสองขั้ว คือ สายพรรค

               การเมือง กับสายประชาธิปตย จะมีความชัดเจนกวานี้ (ไมนับการเลือกตั้งในป พ.ศ. 2557 ที่พรรคประชาธิปตย
               คว่ําบาตรการเลือกตั้ง) ทําใหพรรคการเมืองเองไมไดรูสึกเต็มที่กับการทําการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง และ

               สถานการณไมไดเอื้ออํานวยใหกับการหาเสียงเลือกตั้งเหมือนสมัยกอนหนานั้น

                       ผูสมัครทานนี้ยืนยันวาในการสื่อสารของพรรคการเมือง ไดทําตางออกไปจากการเลือกตั้งที่พรรค
               การเมืองไดจัดการมาในชวงกอนหนานั้น   เพราะการเลือกตั้งในป 2562 เปนการเลือกตั้งภายใตกฎเกณฑของ

               รัฐธรรมนูญฉบับใหม และมีการแยกตัวออกไปของคนกลุมหนึ่งไปตั้งพรรคไทยรักษาชาติ ดังนั้น เมื่อเทียบ

               นโยบายของพรรคเพื่อไทยกับพรรคไทยรักษาชาติ จะเห็นวานโยบายไมคอยตางกันมาก
                       ผูสมัครทานนี้กลาวตอไปวา ในอดีตจุดเดนของพรรคเพื่อไทยก็คือการเปนพรรคการเมืองพรรคเดียว

               ที่หาเสียงโดยใชนโยบาย แตปจจุบันนี้ ทุกพรรคมองพรรคการเมืองเปนตนแบบและเปนคูแขง แตละพรรค

               จึงมีการสรางนโยบายที่ชัดเจน ขณะที่พรรคอื่น ๆ พยายามปรับตัวมาพรอมนโยบายและแผนปฏิบัติการตาม
               นโยบายที่ชัดเจนมากขึ้น

                       แตในทางตรงกันขามผูสมัครทานนี้เห็นวาพรรคเพื่อไทยยังคงมีนโยบายที่คลุมเครือ ซ้ํา และไมใหม

               มุงมั่นขายมรดกทางการเมืองของยุคกอนหนา ถึงจะเคยมีความนาเชื่อถือมาก และอยากจะขายนโยบายเดิม ๆ
               ที่เคยใชไดผล ในการหาเสียงเลือกตั้งจึงไมตางจากนโยบายที่ผานมาในอดีต คือคิดแตเรื่องมหภาค หรือ

               ภาพกวาง แตไมมีนโยบายเฉพาะ

                       ผูสมัครทานนี้ชี้วา ในขณะที่สวนของพรรคเกิดใหม คิดถึงตลาดเฉพาะกลุม (niche market) มากกวา
               เชน การเนนไปที่กลุมคนหลากหลายทางเพศ กลุมคนชายขอบ และตอบสนองตอผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง

               ในลักษณะที่เปนกลุมเฉพาะไดมากกวา

                       สําหรับการตัดสินใจของผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ผูสมัครทานนี้ยืนยันวาผูใชสิทธิลงคะแนนเสียงไมได
               ดูแคนโยบายเทานั้น แตดูปจจัยอื่น ๆ ดวย ประชาชนดูทั้งพรรคการเมือง นโยบาย ตัวบุคคลที่ลงสมัคร

               รับเลือกตั้งเปนตัวแทนในพื้นที่ของตน ดูทุกสิ่งทุกอยางควบคูกันไป ไมไดแคเรื่องนโยบายเทานั้น

                       ในสวนของการประชาสัมพันธหรือการสื่อสารนั้น ผูสมัครทุกคนรอนโยบายจากสวนกลางหรือในสวน
               ของคณะกรรมการบริหารพรรค ซึ่งจะเปนผูรับผิดชอบนโยบายในภาครวม และแนวทางการรณรงคหลัก ๆ

               ยังคงมาจากทางพรรค วาพรรคมีนโยบายอยางไร ทําใหมีจุดออนของการแบงทีมประชาสัมพันธใน เชน

               เกิดความไมชัดเจนในตัวนโยบาย และลาชาเกินไปกวาที่พรรคจะสื่อสารหรือสงตอขอมูลใหกับผูสมัครได
               ผูสมัครเองก็ไมทราบลวงหนานานนักวานโยบายออกมาอยางไร

                       ทีมคลังสมอง (Think Tank) ของพรรคอยูหางจากผูสมัครรับเลือกตั้งคอนขางมาก อาจจะทําให

               ผูสมัครบางคนเขาไมถึงนโยบายจากสวนกลาง อยางไรก็ตาม ภายหลังการเลือกตั้งก็ไดมีการปรับแนวทาง
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139