Page 133 - kpi21190
P. 133
133
การนำเสนอเน้นความไม่เท่าเทียมทางการเงิน โดยจะอธิบายสถานการณ์ในประเทศไทย
โดยเปรียบเทียบกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วง 28 ปีที่ผ่านมาตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2541-2531 เราจะเห็นอัตรามูลค่าอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทยเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ
60 และตอนนี้ต่ำลงประมาณร้อยละ 10 ดังนั้น อัตราความสำเร็จของเรานั้นดีมากในอดีต
เป็นเวลา 30 ปี นั่นเป็นตัวเลขในระดับประเทศแต่ถ้าทุกท่านดูตามภูมิภาคจะเห็นว่ากรุงเทพฯ
มีอัตราอสังหาริมทรัพย์ที่ต่ำมากเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราของระดับประเทศ แต่แนวโน้ม
ทั้งหมดตั้งแต่ปี 1988 เป็นสัญญาณที่ดีสำหรับประเทศไทย ตัวเลขนี้มาจากสภาพัฒน์ กราฟนี้
แสดงสองสิ่ง หนึ่งคือมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ของประเทศซึ่งเป็นมาตรฐานเดียวกับทัั่วโลกที่ใช้คือ
1.9 ดอลลาร์ต่อวันหรือเท่ากับ 32 บาทต่อวัน ดิฉันไม่คิดว่าเราจะสามารถใช้มันในประเทศไทย
ได้อีกยกเว้นแต่เป็นการประเมินระดับโลกในการประเมินข้อมูลเพราะการประเมินในประเทศ
มีชนชั้นกลางที่มีรายได้ที่ 5.5 ดอลลาร์ต่อวัน
ถ้าเราใช้มาตรฐานนี้เราจะเห็นว่าอัตราทรัพย์สินของประเทศไทยใน พ.ศ. 2560 อยู่ที่
ร้อยละ 7.7 ซึ่งสอดคล้องกับสภาพัฒน์ คือร้อยละ 7.8 ซึ่งน้อยกว่าร้อยละ 10 แม้ว่าอัตรา
ทรัพย์สินลดลงแต่เป็นไปได้ที่จะปรับปรุงให้ดีขึ้น นี่เป็นการยืนยันว่าประเทศไทยใช้มาตรฐาน
เดียวกับสากลซึ่งเป็นสีเขียวตรงนี้ สไลด์นี้แสดงให้เห็นว่าสำหรับคนที่ด้อยโอกาสมีรายได้
ประมาณ 3.2 - 5.5 ดอลลาร์นั้นส่วนใหญ่เป็นประชากรนอกเขตกรุงเทพ และกระจุกตัวไปทาง
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงจังหวัดที่มีความ
แตกต่างกันทางรายได้ ทุกท่านจะเห็นได้ว่าคนที่มีรายได้น้อยส่วนใหญ่อาศัยในบริเวณนี้
นี่หมายความว่ารัฐบาลไทยจะต้องทำบางสิ่งบางอย่างเพื่อลดความไม่เท่าเทียมกันในประเทศไทย
และสิ่งนี้เป็นสัญญาณอย่างหนึ่งเมื่อเราพูดถึงความเหลื่อมล้ำกันสถิติระดับประเทศมักจะใช้
ตัวแปรของการใช้เครื่องปรับอากาศ จากรูปด้านบนจะเห็นว่า มี 2.5 ล้านครัวเรือนที่อยู่ใน
ระดับรายได้ปานกลางจากจำนวน 21 ล้านครัวเรือนสามารถแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่ม
จะมี 4 ล้านครัวเรือน อย่างน้อยรายได้ที่สูงขึ้นอยู่ในกลุ่มร้อยละ 50 ซึ่งมีเครื่องปรับอากาศ
เป็นของตัวเอง แต่จาก 4.2 ล้านครัวเรือนที่มีรายได้ที่ต่ำกว่ามี 0.2 ครัวเรือนเท่านั้นที่มี
เครื่องปรับอากาศเป็นของตัวเอง เมื่อเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายของแต่ละกลุ่มครัวเรือนจะ
แตกต่างกันถึง 3.5 เท่าในเรื่องค่าไฟฟ้า
จากนั้นขออธิบายเกี่ยวกับระบบการเงินของไทยเพราะดิฉันทำงานในสายงานการเงิน
เป็นส่วนใหญ่และเคยทำงานในประเทศต่าง ๆ แถบนี้ ได้แก่ ลาว กัมพูชา พม่า รวมทั้งประเทศ
ไทย ที่เห็นในภาพนี้คือดัชนีภาพรวมทางการเงินที่รวบรวมข้อมูลโดยธนาคารโลกในทุก ๆ เอกสารประกอบการอภิปรายร่วมระหว่างผู้แทนจากต่างประเทศ
สามปี และเป็นข้อมูลจากสองครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2560 ครั้งต่อไปของงานศึกษาจึงจะ
ดำเนินการในไม่ช้าและจะนำเสนอใน พ.ศ. 2564 จากงานนำเสนอนี้จะเห็นได้ว่าประเทศไทย
มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นมากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดยเฉพาะจำนวนบัญชีออมทรัพย์ที่ดีกว่าประเทศใน EAP ทั่วไป มีเจ้าของบัตรเดบิตมากกว่า