Page 98 - kpi20902
P. 98
97
3.4 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลครั งนี ผู้วิจัยได้ด้าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี
3.4.1 ศึกษาข้อมูลเบื องต้นจากเอกสารทางวิชาการ หนังสือ บทความ วารสาร และรายงานการวิจัย
ที่เกี่ยวข้องทั งในประเทศและในต่างประเทศ โดยจะใช้เอกสารและงานวิจัยที่จัดพิมพ์ ไม่ต่้ากว่าปี 2550 เพื่อ
ให้ได้ข้อมูลที่ค่อนข้างใหม่
3.4.2 ประสานงานกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อนัดหมายกับพื นที่ในการลงพื นที่ภาคสนามในการ
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วมในพื นที่ภาคสนาม การสัมภาษณ์เชิงลึก
และการสนทนากลุ่ม
3.4.3 ประสานงานกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและจัด
สัมภาษณ์กลุ่มตามวันและเวลาที่มีการจัดประชุมประจ้าเดือนของแต่ละกลุ่มที่ท้าการศึกษาเพื่อให้เกิดความ
สะดวกส้าหรับผู้ให้ข้อมูล
3.5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ผู้วิจัยได้ท้าการศึกษาและด้าเนินการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อใช้เป็นเครื่องมือที่เที่ยงตรงและ
น่าเชื่อถือ จึงได้แบ่งขั นตอนการสร้างเครื่องมือออกเป็น 4 ส่วนหลักๆ ด้วยกัน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี
3.5.1 การทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการ
วิจัย สร้างเป็นแนวทางค้าสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ครอบคลุมประเด็นสถานการณ์ปัญหาต่างๆ
สาเหตุของปัญหา สภาพปัญหา ชีวิตความเป็นอยู่ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ น ผลกระทบที่เกิดขึ น และกระบวนการ
ในการแก้ไขปัญหาของกลุ่ม รวมถึงสถานการณ์หลังการแก้ไขปัญหา
3.5.2 ส่งให้ผู้ช้านาญการเฉพาะทาง ตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบสัมภาษณ์โดยใช้วิธีการทางสถิติ
ตรวจสอบค่าความเที่ยงตรง คือ ค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อค้าถามแต่ละข้อกับวัตถุประสงค์ (Index of
Item Objective Congruence: IOC) Rovinell and Hambleton (1977) โดยการก้าหนดเกณฑ์การพิจารณา
เห็นว่าสอดคล้อง ให้คะแนน +1
ไม่แน่ใจ ให้คะแนน 0
เห็นว่าไม่สอดคล้อง ให้คะแนน -1