Page 97 - kpi20902
P. 97

96



              3.3 ขั นตอนการด้าเนินการวิจัย


                     การศึกษาครั งนี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดังนั น เพื่อให้ได้ข้อมูลในเชิงลึก

              ผูวิจัยจึงไดล้าดับขั นตอนการวิจัยออกเป็น 4 ขั นตอนหลักด้วยกัน ดังนี  คือ

                     ขั นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื นฐาน


                         1) เป็นการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและใช้ในการศึกษา เช่น แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน

              กระบวนการกลุ่มและการจัดตั งหรือสร้างชุมชน ซึ่งถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ไขปัญหา แนวคิดการ

              มีส่วนร่วมซึ่งเป็นกระบวนการส้าคัญที่จะท้าให้กลุ่มมีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน แนวคิดในการบริหารจัดการ

              ตนเองของชุมชนท้องถิ่น

                         2) ศึกษาข้อมูลพื นที่ที่จะท้าการศึกษา เช่น ประวัติความเป็นมาของชุมชน การก่อตั งชุมชน

              จากเอกสารข้อมูลพื นที่ รวมถึงการลงสังเกตการณ์พื นที่ที่จะท้าการศึกษาก่อน และสนทนากับผู้น้าชุมชนที่ช่วย

              ก่อตั งชุมชนบางส่วนเพื่อจะได้ทราบข้อมูลพื นฐานของพื นที่


                     ขั นตอนที่ 2 ออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูล และการลงพื นที่เก็บข้อมูล


                          จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสามารถก้าหนดเป็นแนวทางค้าถามที่

              ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของงานวิจัย โดยแนวทางค้าถามจะถูกตรวจสอบโดยที่ปรึกษาโครงการและ

              ผู้ช้านาญการเฉพาะด้านการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น 3 ท่าน จากนั นลงพื นที่เพื่อท้าการเก็บข้อมูล

              จากกลุ่มตัวอย่างที่ก้าหนดแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เน้นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก

              (In-depth interview) โดยเฉพาะแกนน้าชุมชนและสมาชิกกลุ่มชุมชน และผู้ที่ลงปฏิบัติงานในชุมชนหรือ

              มีส่วนท้างานสัมพันธ์กับชุมชนบ้านหนองสาหร่าย  ท้าการวิเคราะห์และจัดหมวดหมู่ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และ

              สรุปข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ของงานวิจัย


                     ขั นตอนที่ 3 การจัดประชุมกลุ่ม เพื่อการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและคืนข้อมูล


                         เนื่องจากการเก็บข้อมูลมาจากกลุ่มตัวอย่างให้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดความถูกต้อง

              ของข้อมูลเกิดความสมบูรณ์มากที่สุด และเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วมในการปรับแก้ข้อมูลจากประชาชน

              ในพื นที่ และเป็นการคืนข้อมูลให้กับพื นที่ เพื่อน้าไปเป็นประโยชน์ต่อการท้างานของกลุ่มองค์กรชุมชนต่อไป

              จึงได้จัดให้มีการประชุมกลุ่ม (Focus Group Discussion)  โดยเชิญกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั งหมดเข้าร่วมประชุม

              รับฟังผลการศึกษาและข้อสรุปร่วมกัน


                     ขั นตอนที่ 4  การวิเคราะห์ข้อมูล และการสังเคราะห์รูปแบบ จนจัดท้ารายงานฉบับสมบูรณ์
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102