Page 102 - kpi20902
P. 102

101



                                                           บทที่ 4

                                                         ผลการวิจัย




                        การวิจัยเรื่องการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าอย่างยั่งยืนโดยชุมชนท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ส้าคัญ คือ

                 1) เพื่อศึกษาบริบทและสภาพปัญหาความเหลื่อมล ้าที่ส่งผลกระทบต่อการด้ารงชีวิตของชุมชนบ้านหนอง

                 สาหร่าย ต้าบลหนองสาหร่าย อ้าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี  2) เพื่อศึกษากระบวนการการแก้ไขปัญหา

                 ความเหลื่อมล ้าของชุมชนบ้านหนองสาหร่าย ต้าบลหนองสาหร่าย อ้าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี  3) เพื่อ

                 สังเคราะห์และน้าเสนอรูปแบบการจัดการตนเองเพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าของชุมชนท้องถิ่นส้าคัญ

                 ที่จะสะท้อนปรากฏการณ์ของกระบวนการในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าซึ่งสะท้อนถึงความไม่เท่าเทียมกัน

                 ของปรากฏการณ์ต่างๆ ที่ชุมชนท้องถิ่นต้องประสบพบเจอ ในพื นที่เป้าหมายคือพื นที่ต้าบลหนองสาหร่าย

                 อ้าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี  ซึ่งมีพื นที่ครอบคลุมทั งหมด 9 หมู่บ้าน โดยผลการวิจัยจะแบ่งการน้าเสนอ

                 ออกเป็น 7 ส่วนด้วยกัน คือ


                            ส่วนที่ 1  ข้อมูลทั่วไปของต้าบลหนองสาหร่าย

                            ส่วนที่ 2  พัฒนาการของต้าบลหนองสาหร่าย

                            ส่วนที่ 3   สภาพปัญหาความเหลื่อมล ้าของต้าบลหนองสาหร่าย


                            ส่วนที่ 4  จุดเริ่มต้นของความเปลี่ยนแปลง เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าโดยชุมชน

                            ส่วนที่ 5  กระบวนการการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าโดยชุมชน

                            ส่วนที่ 6  บทวิเคราะห์การแก้ไขของต้าบลหนองสาหร่าย


                            ส่วนที่ 7  องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย


                        โดยการศึกษาทั ง 7 ส่วนดังกล่าว ได้แบ่งเนื อหาการศึกษาเพื่อตอบวัตถุประสงค์การศึกษา ดังนี

                 ส่วนที่ 1 ถึงส่วนที่ 4  ศึกษาเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 1  ส่วนที่ 5 ส่วนที่ 6 ศึกษาเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อ

                 ที่ 2  และส่วนที่ 7 ศึกษาเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 3


                        งานวิจัยชิ นนี ผู้วิจัยมีความคาดหวังที่จะสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาความ
                 เหลื่อมล ้าซึ่งเกาะกินสังคมไทยมาเป็นเวลาช้านานให้กับพื นที่ชุมชนท้องถิ่นอื่นๆ น้าไปประยุกต์ใช้ต่อไป
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107