Page 83 - kpi20902
P. 83
82
ถึงแม้ผลการก้าหนดเป้าหมายขององค์การสหประชาชาติในเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนจะดูเป็น
เหมือนเรื่องไกลตัว เพราะส่วนมากชุมชนท้องถิ่นก็มักจะทึกทักเอาว่าตนเองเป็นแค่ส่วนเล็กๆ ไม่มีผลสามารถ
ขับเคลื่อนหรือผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอะไรได้ แต่ในความเป็นจริงหากพิจารณาถึงเป้าหมายของการ
พัฒนาอย่างยั่งยืนอย่างลึกซึ งจะพบว่า เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนดังกล่าว ทุกด้านมีความเกี่ยวพันกับ
ชุมชนท้องถิ่นเป็นอย่างมาก เช่น ปัญหาความยากจนที่เกิดจากการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียม ส่งให้ผลเกิดช่องว่าง
ทางสังคม ท้าให้ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศมีความยากจนมีอัตราสูงขึ น ในช่วงปี 2553-2560 พบว่า
จ้านวนคนจนทั งในเขตเมืองและเขตชนบท ในช่วงปี 2553 ในเขตเมืองมีจ้านวนคนจนคิดเป็นร้อยละ 23.4
แต่ในช่วงปี 2560 ปรากฏว่าในเขตเมืองมีจ้านวนคนจนเพิ่มสูงขึ นคิดเป็นร้อยละ 39.8 ในขณะที่ในช่วงปี 2553
คนจนในเขตเมืองคิดเป็นร้อยละ 76.56 และในช่วงปี 2560 มีจ้านวนคนจนในเขตชนบทคิดเป็นร้อยละ 60.2
(ข้อมูลจากการส้ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ส้านักงานสถิติแห่งชาติ, สืบค้นเมื่อ 15
พฤศจิกายน 2561) ปัญหาที่ประเทศไทยก้าลังจะเข้าสู่ยุคผู้สูงอายุ ชุมชนท้องถิ่นเองก็คงจะหลีกเลี่ยงปัญหานี
ไม่พ้น การเตรียมความพร้อมของชุมชนท้องถิ่นจึงเป็นเรื่องที่ชุมชนท้องถิ่นจ้าเป็นต้องเตรียมการแก้ไขปัญหา
ไว้ล่วงหน้า หรือด้านของสิ่งแวดล้อมซึ่งประเทศไทยก้าลังประสบปัญหาอย่างหนักเนื่องจากปริมาณป่าได้ลดลง
อย่างรวดเร็ว หรือการท้าลายแหล่งน ้าธรรมชาติโดยการปล่อยน ้าเสียลงไป การป้องกันและแก้ไขปัญหาชุมชน
ท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้รับผลกระทบโดยตรงคงไม่สามารถปฏิบัติความรับผิดชอบได้ เป็นต้น สรุปได้ว่าชุมชนท้องถิ่น
จ้าเป็นต้องมีต้นแบบในการเตรียมการเพื่อแก้ไขปัญหาในระยะยาวหรืออย่างยั่งยืนนั นเอง
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับใช้เป็นเกณฑ์ในการท้างานหรือมุ่งหมายจะก่อให้เกิดขึ น
ตามแนวคิดขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งมักจะเป็นหลักการที่มุ่งหวังจะให้ประเทศสมาชิกน้าไปปฏิบัติในส่วน
ของการวัดว่าเป้าหมายดังกล่าว จะได้มีความส้าเร็จก่อให้เกิดความเข้มแข็งกับชุมชนท้องถิ่นอย่างไรนั น
มีการเสนอให้พิจารณาตัวชี วัด โดย Mark Holland ซึ่งน้าเสนอผลงานชื่อว่า “THE EIGHT PILLARS OF
A SUSTAINABLE COMMUNITY” 8 เสาหลักแห่งการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ซึ่งสามารถสรุปเป็นด้านๆ
ดังต่อไปนี
เสาที่ 1 ชุมชนมีความสมบูรณ์พร้อม – จะต้องมีที่ดินสาธารณะเพื่อการจัดกิจกรรมส่วนรวมของ
ชุมชน หรือมีที่ดินให้ใช้อย่างเหมาะสมกับโครงสร้างของประชากรทั งหมด ชุมชนที่ยั่งยืนจะต้องเป็นชุมชน
ที่มีที่ดินในส่วนที่จะใช้งานได้อย่างเพียงพอ และผู้ที่เข้ามาอาศัยจะต้องมีคุณภาพมีชีวิตที่สดชื่น มีโอกาสที่จะ
ท้างาน มีชีวิตที่สนุกสนาน ช็อปปิ้ง เรียนรู้ และสวดมนต์ท้าภาวนาในพื นที่ใกล้เคียง โดยมีระยะทางที่เดินทาง
ได้สะดวกหรือเป็นระยะทางที่มีระบบขนส่งเพียงพอ ชุมชนควรได้รับการมอบหมายเพื่อปกป้องพื นที่ชายฝั่ง
ที่ส้าคัญและอื่นๆ คุณลักษณะทางธรรมชาติที่ส้าคัญมีความเสถียร ในขณะเดียวกันก็เคารพต่อความท้าทาย