Page 78 - kpi20902
P. 78

77



                 ประหยัดค่าใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพมาใช้ในอาคารและอุตสาหกรรมส้าหรับความหลากหลายของเทคโนโลยี

                 ยังสามารถลดการใช้ไฟฟ้าทั่วโลกได้ 14% ซึ่งหมายถึงการลดการใช้งานโรงไฟฟ้าขนาดกลาง ประมาณ 1,300

                 แห่ง การขยายโครงสร้างพื นฐานและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้มีแหล่งที่มาของพลังงานสะอาดในประเทศที่ก้าลัง

                 พัฒนา เป็นเป้าหมายส้าคัญที่ทั งการขยายโครงสร้างและการพัฒนาเทคโนโลยีสามารถส่งเสริมการเจริญเติบโต

                 และช่วยเหลือสิ่งแวดล้อมได้


                            เป้าหมายที่ 8  ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและครอบคลุม และการจ้างงาน

                 เต็มอัตรา และงานที่มีคุณค่าส้าหรับทุกคน Decent Work and Economic Growth แม้ว่าในปัจจุบัน

                 ระบบเศรษฐกิจของโลกจะได้รับการพัฒนาโดยการหันมาใช้เทคโนโลยีกันเพิ่มมากขึ น แต่ในทางกลับกัน

                 มนุษย์กลับยากจนลงเรื่อยๆ เนื่องจากช่องว่างระหว่างความรวยและความจนที่ขยายช่องกว้างออกไปเรื่อยๆ

                 เนื่องจากแรงงานที่ต้องท้างานอย่างหนักกลับถูกเอารัดเอาเปรียบจากนายทุน แม้จะต้องท้างานอย่างหนักแต่ก็

                 มีรายได้ที่สามารถแค่ด้ารงชีวิตอยู่ได้เท่านั น แต่ความร่้ารวยกลับตกอยู่กับกลุ่มคนจ้านวนน้อยหรือกลุ่มเล็กๆ

                 เท่านั น จากรายงานในที่ประชุม พบว่า ตลอดระยะเวลากว่า 25 ปีที่ผ่านมา จ้านวนคนงานที่ต้องประสบปัญหา

                 ความยากจนได้ลดลงอย่างมาก แม้จะมีผลกระทบที่ยาวนานของวิกฤตเศรษฐกิจจากปี  2551/2552 ก็ตาม

                 ส้าหรับประเทศที่ก้าลังพัฒนา ก็ยังพบว่าชนชั นกลางถือเป็น 34% ของการจ้างงานทั งหมด โดยตัวเลขนี เพิ่มขึ น

                 กว่าสามเท่าจากปี 2534 ถึง 2558  โดยในประเทศไทยมีการวิจัยของส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการ

                 เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติถึงสถานการณ์ความยากจนในปี 2560 พบว่า สถานการณ์ความยากจนของ

                 ประเทศไทยในภาพรวมดีขึ น โดยคนจนมีจ้านวน 5.3 ล้านคนลดลงจาก 5.8 ล้านคนในปี 2559 คิดเป็นสัดส่วน

                 คนจนร้อยละ 7.87 เป็นผลจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจและนโยบายรัฐบาลที่เอื อประโยชน์ต่อคนยากจน

                 และยากไร้มากขึ น  อย่างไรก็ตาม ยังต้องให้ความส้าคัญกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรให้หลุดพ้น

                 จากปัญหาความยากจนเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12

                 ในด้านการสร้างโอกาสในการหารายได้ของคนยากจน ซึ่งปัจจุบันช่องว่างระหว่างรายจ่ายของคนที่จนที่สุดกับ

                 เส้นความยากจนลดลงมาก สะท้อนถึงโอกาสที่รัฐจะช่วยเหลือประชาชนให้หลุดพ้นจากความยากจนเป็นไปได้

                       42
                 ง่ายขึ น  แต่ก็มีปรากฏการณ์ที่น่าสังเกตก็คือ แม้ว่าสถิติความยากจนดูมีแนวโน้มที่ดีขึ นก็ตาม แต่ในทาง
                 กลับกันคุณภาพชีวิตของชุมชนท้องถิ่นกลับไม่ได้สะท้อนถึงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ นเลย พิจารณาได้จากราคาปัจจัย

                 พืชผลทางการเกษตรมีตกต่้าลงอย่างต่อเนื่องปลายปีไม่ว่าจะเป็นราคาข้าว  ราคาน ้ามันปาล์ม  ราคายางพารา

                 เป็นต้น ท้าให้ยังเกิดปรากฏการณ์การประท้วงหรือเรียกร้องกันอยู่อย่างสม่้าเสมอทุกปี





                        42  รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล ้าในประเทศไทย ปี 2560, อ้างแล้ว, หน้า ฉ.
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83