Page 79 - kpi20902
P. 79

78



                         ดังนั น เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) มุ่งมั่นที่จะส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

              ที่ยั่งยืนโดยบรรลุเป้าหมายการผลิตในระดับที่สูงขึ นและผลิตผ่านนวัตกรรมทางเทคโนโลยี สนับสนุนนโยบาย

              ที่ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการและการสร้างงานซึ่งเป็นกุญแจส้าคัญในเรื่องนี  เช่นเดียวกับมาตรการที่มี

              ประสิทธิภาพที่จะก้าจัดการบังคับใช้แรงงานทาสและการค้ามนุษย์   ด้วยเป้าหมายเหล่านี  ภายในปี 2573

              เราต้องการให้เกิดการจ้างงานเต็มรูปแบบและมีประสิทธิภาพ และการท้างานที่เหมาะสมส้าหรับผู้หญิงและ

              ผู้ชายทุกคน


                         เป้าหมายที่ 9  สร้างโครงสร้างพื นฐานที่มีความต้านทานและยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง

              ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืนและส่งเสริมนวัตกรรม Industry, Innovation and

              Infrastructure  ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก็เป็นกุญแจส้าคัญในการหาทางแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนให้กับ

              ความท้าทายทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดให้มีชิ นงานใหม่และส่งเสริมประสิทธิภาพในการ

              ใช้พลังงาน การส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนและการลงทุนในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม เหล่านี

              เป็นวิธีที่ส้าคัญที่จะช่วยสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน


                         การลงทุนในโครงสร้างพื นฐานและนวัตกรรมเป็นหนึ่งในเป้าหมายการพัฒนา 17 ข้อ ที่อยู่ในวาระ

              การจัดท้าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) วิธีการแบบบูรณาการเป็นสิ่งส้าคัญที่จะท้าให้เกิดความคืบหน้า

              ไปยังเป้าหมายอื่น ๆ


                         เป้าหมายที่ 10  ลดความเหลื่อมล ้าหรือความไม่เท่าเทียม ทั งภายในประเทศและระหว่าง

              ประเทศ Reduced Inequality  ความไม่เท่าเทียมด้านรายได้เป็นปัญหาระดับโลกที่ต้องการการแก้ไข

              ซึ่งปัญหานี เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงกฎระเบียบข้อบังคับ การตรวจสอบของตลาดการเงินและสถาบัน

              ด้านการเงิน การส่งเสริมการช่วยเหลือด้านการพัฒนา และการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติไปยังภูมิภาคที่มี

              ความจ้าเป็นมากที่สุด การอ้านวยความสะดวกในการอพยพย้ายถิ่นที่ปลอดภัยและการเคลื่อนย้ายของผู้คน

              ก็เป็นสิ่งส้าคัญในการแก้ไขปัญหาการแบ่งเขตแดน


                         ถึงแม้ว่าความเหลื่อมล ้าหรือความไม่เท่าเทียมจะเป็นต้นตอของปัญหาที่ถูกสั่งสมมาอย่างยาวนาน

              ก็ตาม แต่ก็ยังไม่มีวิธีการที่จะแก้ไขปัญหาให้เกิดประสบผลส้าเร็จเป็นรูปธรรมได้อย่างชัดเจน เนื่องจากการ

              แก้ไขปัญหาดังกล่าวมักจะปรากฏเป็นแผนระดับชาติ หรือระดับหน่วยงานของรัฐที่มีอ้านาจในการปกครอง

              ซึ่งมักจะตั งกันแบบสวยหรู จนถูกเรียกกันว่า “เสือกระดาษ” เพราะไม่สามารถน้าไปปฏิบัติได้จริง จะอย่างไร

              ก็ตามในประเทศไทยเองก็ได้บรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมาโดยตลอดแม้ในแผนยุทธศาสตร์

              ชาติ 20 ปี ก็ได้ระบุไว้ในยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84