Page 88 - kpi20902
P. 88

87



                 ในการด้ารงชีวิตจากการใช้รถสาธารณะและลดมลพิษได้ และการท้ากิจกรรมร่วมกันของชุมชนเพื่อสร้าง

                 จิตสาธารณะ จิตส้านึกในความเป็นชุมชน และสร้างความสามัคคีให้กับคนในชุมชน นอกจากจะสามารถท้าให้

                 คนในชุมขนด้ารงชีวิตอยู่ได้โดยไม่ล้าบาก ด้านอาหารและลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้เป็นอย่างดี  ในขณะที่

                 ลูกหลานในอนาคตก็จะได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เพราะจะเป็นการสร้างสังคมแห่งการแบ่งปันและการ

                 อยู่ร่วมกันอันเกิดจากปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ซึ่งแตกต่างจากสังคมปัจจุบันที่มีอัตราการแข่งขันที่สูง และเกิดการ

                 เอารัดเอาเปรียบกันอยู่ตลอดเวลาท้าให้สังคมไม่น่าอยู่และอาจจะน้าไปสู่สังคมแห่งความแตกแยกและล่มสลาย

                 ในที่สุด


                 2.7 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน


                        ส้าหรับประเทศไทยได้มีการจัดท้ายุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

                 สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)  ซึ่งเป็นแผนที่มีการก้าหนดมาอย่างยาวนานเป็นช่วงระยะเวลา

                 ช่วงละ 5 ปี มาตั งแต่ปี 2502 อย่างต่อเนื่อง โดยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรกๆ จะเน้นการพัฒนาในส่วนของ

                 โครงสร้างพื นฐานและการพัฒนาคมนาคม เพื่อเอื อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นส้าคัญ

                 ซึ่งในแผนดังกล่าวเริ่มให้ความส้าคัญกับทรัพยากรมนุษย์เป็นครั งแรกในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

                 ฉบับที่ 8 เป็นต้นมา โดยยึดโยงกับแนวคิดพระราชด้าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่เรียกว่า

                 แนวคิดพระราชด้าริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่เน้นความคงอยู่และความตั งมั่นของการด้ารงชีวิตอยู่ภายใน

                 หลักการที่ส้าคัญคือ ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และต้องอยู่ภายใต้กรอบของ

                 ความรู้ และคุณธรรม ควบคู่กันไปด้วย ดังนั น ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 จึงเกิดจาก

                 แนวคิดที่ผสมผสานกันระหว่างการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ และแนวคิดตามพระราชด้าริปรัชญาเศรษฐกิจ

                 พอเพียง โดยมีเนื อเป็นประเด็น ส้าคัญๆ ดังนี


                        2.7.1 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์


                            1) ปรับเปลี่ยนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่
                 พึงประสงค์


                            2) พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้ และความสามารถในการด้ารงชีวิตอย่างมีคุณค่า

                            3) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต


                            4) ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพและให้ทุกภาคส่วนค้านึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ

                            5) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบสุขภาพภาครัฐและปรับระบบการเงินการคลังด้าน

                 สุขภาพ
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93