Page 18 - kpi20902
P. 18
17
สวัสดิการชุมชนด้วยตนเอง จนสามารถสร้างชุมชนที่มีระบบการจัดการตนเอง รวมถึงสามารถวางแผนบริหาร
จัดการ เพื่อให้คนรุ่นใหม่ในอนาคตสามารถด้ารงชีวิตอยู่ได้ มีระบบงานรองรับไม่จ้าเป็นต้องดิ นรนเข้าไปหางาน
ท้าในเมืองหลวงหรือในระบบอุตสาหกรรมอื่น การสร้างเครือข่ายระหว่างชุมชนและองค์กรต่างๆ ภายนอก
ชุมชนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งๆ ซึ่งระบบการบริหารจัดการดังกล่าวจึงเป็นส่วนที่ควรค่าแก่การศึกษา
ว่าต้นเหตุของปัญหา การแก้ไขปัญหา กระบวนการจัดการ และการวางแผนในระยะยาว ของชุมชนต้นแบบ
แห่งนี สามารถบริหารจัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร เพื่อจะน้าผลการถอดบทเรียน
กระบวนการจัดการของชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าในชุมชนจะเป็นบทเรียนแห่งการเรียนรู้เพื่อน้าไป
พัฒนาหรือเป็นแบบอย่างในการน้าไปประยุกต์ใช้ในชุมชนอื่นๆ ต่อไป
ทั งนี การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าโดยชุมชนท้องถิ่นโดยการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น
จะเป็นการตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ตอบโจทย์ตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDG) ที่องค์การ
สหประชาชาติได้ก้าหนดขึ นในช่วงปี ค.ศ.2017 และจัดได้ว่าเป็นการประพฤติปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ผู้วิจัยจึงสนใจวิจัยการถอดบทเรียน กระบวนการจัดการ
ตนเองของชุมชนท้องถิ่น บ้านหนองสาหร่าย ต้าบลหนองสาหร่าย อ้าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อศึกษาบริบท เช่น ประวัติการก่อตั งชุมชน ลักษณะของพื นที่ อาชีพ การเข้าถึงทรัพยากร
ธรรมชาติ กลุ่มองค์กรชุมชน ระบบความสัมพันธ์ทางเครือญาติ และสภาพปัญหาความเหลื่อมล ้าที่ส่งผลกระทบ
ต่อการด้ารงชีวิตของ ต้าบลหนองสาหร่าย อ้าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
1.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าของต้าบลหนองสาหร่าย อ้าเภอพนมทวน
จังหวัดกาญจนบุรี
1.2.3 เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์และน้าเสนอรูปแบบการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่นเพื่อแก้ไข
ปัญหาความเหลื่อมล ้าในพื นที่ด้วยตนเอง
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
ความเหลื่อมล ้าเป็นปรากฏการณ์ปัญหาที่เกิดขึ นในหลากหลายพื นที่ ทั งในเขตเมือง เขตชนบท
ในองค์กร ในการท้างาน หรือกระทั่งในหน่วยงานราชการ ดังนั น การศึกษาครั งนี คงยังไม่สามารถอธิบายหรือ
หาค้าตอบในพื นที่ได้ครอบคลุมทั งหมด แต่การศึกษากลับมุ่งไปที่การศึกษาเชิงประเด็นในรายพื นที่ที่ก้าหนด
ในพื นที่ๆ หนึ่งซึ่งเป็นชุมชนท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากปรากฏการณ์ความเหลื่อมล ้าเหมือนกับในหลายๆ