Page 17 - kpi20902
P. 17

16



              ที่ผ่านมา รัฐได้ให้ความส้าคัญกับชุมชนท้องถิ่นเหมือนกับเป็นพื นที่ที่ต้องการการพัฒนาเชิงโครงสร้างพื นฐาน

              เป็นหลักหรือตามแต่นโยบายของรัฐบาลนั นๆ ท้าให้การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในส่วนของการสร้างความเข้มแข็ง

              อย่างยั่งยืน จึงไม่ปรากฏผลเป็นรูปธรรมชัดเจน นอกจากการกระจายอ้านาจท้าให้เกิดมีรูปแบบการปกครอง

              ส่วนท้องถิ่น ในช่วงปี 2540 (ตามแผนกระจายอ้านาจ พ.ร.บ.2540)  และชุมชนท้องถิ่นเริ่มมีความส้าคัญ

              อีกครั งโดยปรากฏในแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ซึ่งประกาศใช้ในพระราชกิจจานุเบกษา

              เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2561 โดยในแผนยุทธศาสตร์ชาติ ดังกล่าวได้ให้ความส้าคัญกับการปฏิรูปประเทศใน

              ทุกๆ มิติ รวมทั งสิ น 11 ด้าน ด้วยกัน คือ 1.ด้านการเมือง 2.ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3.ด้านกฎหมาย

              4.ด้านกระบวนการยุติธรรม  5.ด้านเศรษฐกิจ  6.ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  7.ด้านสาธารณสุข

              8.ด้านสื่อสารมวลชน  9.ด้านสังคม  10.ด้านพลังงาน และ 11.ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ

              ประพฤติมิชอบ โดยได้จัดให้มีคณะกรรมการปฏิรูปขึ นมีหน้าที่หลักในการจัดท้าแผนการปฏิรูปประเทศภายใต้

              ข้อก้าหนดของรัฐธรรมนูญ หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ และพระราชบัญญัติว่าด้วยแผนและขั นตอนการ

              ปฏิรูปประเทศ พ.ศ.2560  โดยในด้านที่ 9.ด้านการปฏิรูปประเทศด้านสังคม มีเป้าหมายหลักที่ส้าคัญที่จะ

              ก่อให้เกิดการออม สวัสดิการสังคม และการลงทุนด้านสังคม เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้า

              (Inequality problem) ในชุมชนท้องถิ่น และเป็นการปฏิรูปให้เกิดโอกาสการพัฒนาสังคมโดยสนับสนุนให้เกิด

              ชุมชนเข้มแข็งและการขับเคลื่อนสังคมด้วยจิตสาธารณะ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่สะท้อนว่า การปฏิรูปประเทศ

              ด้านสังคมหรือแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าให้ประสบผลส้าเร็จ จ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างความเข้มแข็ง

              ให้กับชุมชนท้องถิ่นซึ่งเป็นฐานรากของประเทศ ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองที่เล็กที่สุดในสังคม จากจ้านวนชุมชน

              หรือหมู่บ้านที่มีจ้านวนมากทั งประเทศดังกล่าว ท้าให้การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่นซึ่งเป็นเสมือน

              รากฐานของประเทศ จึงเป็นเรื่องส้าคัญต่อการน้าพาประเทศไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต


                     ชุมชนบ้านหนองสาหร่าย ต้าบลหนองสาหร่าย อ้าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี เป็นตัวอย่างของ

              ชุมชนท้องถิ่นที่พยายามปรับเปลี่ยนตัวเองท่ามกลางกระแสของความเปลี่ยนแปลงทั งของโลก ของประเทศ

              และของชุมชนท้องถิ่นเอง โดยพยายามแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าของชุมชนท้องถิ่นที่เข้ามารุมเร้า ไม่ว่า

              จะเป็นเรื่องของการเข้าไม่ถึงแหล่งทุน ปัญหาความเหลื่อมล ้าในการเข้าถึงสิทธิ เช่น การรักษาพยาบาล

              การแสดงออกทางการเมืองส่งผลให้เกิดความแตกแยกทางความคิด ก่อให้เกิดการจัดการตนเองของชุมชน

              ท้องถิ่นโดยอาศัยทุนทางสังคม การใช้หลักธรรมในพระพุทธศาสนาเป็นตัวเชื่อมโยงให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

              ก้าหนดเป็นธรรมนูญชุมชน สร้างระบบการเข้าถึงแหล่งทุนทางการเงินโดยก่อตั งเป็นธนาคารความดี สถาบัน

              การเงินชุมชน ที่ใช้ระบบการค ้าประกันโดยใช้ความดีหรือศีล เป็นตัวค ้าประกัน การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง

              ในพื นที่โดยใช้ทุนทางสังคมคือความเป็นเครือญาติที่ไม่ต้องรอให้เรื่องไปถึงเจ้าหน้าที่ต้ารวจ การจัดการ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22