Page 16 - kpi20902
P. 16

15



                                                           บทที่ 1


                                                           บทน้า



                 1.1 ความเป็นมาและความส้าคัญของปัญหา


                        “ความเหลื่อมล ้า” (Inequality) ปรากฏการณ์ที่สะท้อนถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในสังคมไทย

                 เนื่องจากเป็นสาเหตุหรือต้นตอของปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการด้าเนินชีวิตของคนไทยในหลากหลายมิติ ไม่ว่า

                 จะเป็นความเหลื่อมล ้าด้านแหล่งทุนในการท้ามาหากินเพื่อสร้างสถานะทางเศรษฐกิจ ความเหลื่อมล ้าด้านการ

                 เข้าถึงการศึกษา ความเหลื่อมล ้าด้านการเข้าถึงการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม ความเหลื่อมล ้าด้านสิทธิการเข้าถึง

                 สวัสดิการและความเสมอภาคอื่นๆ ซึ่งการแก้ไขปัญหามักจะถูกผลักให้เป็นภาระของรัฐบาลหรือหน่วยงานของ

                 รัฐ ซึ่งไม่ประสบความส้าเร็จเสมอมา ท้าให้ปรากฏการณ์ความเหลื่อมล ้ายังคงเป็นปัญหาที่คนไทยยังไม่สามารถ

                 ออกจากก้นหุบเหวของความเหลื่อมล ้าได้ และนับวันสภาพปัญหาความเหลื่อมล ้าดังกล่าวกลับยิ่งทวีความ

                 รุนแรงเพิ่มมากขึ นเรื่อยๆ พิจารณาจากการจัดล้าดับประเทศที่มีระดับความเหลื่อมล ้าสูงที่สุดในโลก จากข้อมูล

                 ของ CS Global Wealth Report 2018 ประเทศไทยขยับขึ นจากอันดับที่ 3 (ปี 2559) ใน 2 ปี ที่ผ่านมา

                 จนปี 2561 ประเทศไทยได้แซงหน้าประเทศรัสเซียและประเทศอินเดียขึ นเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล ้า

                 เป็นอันดับ 1 ของโลก หมายความว่า ประชากรเพียง 1% เป็นเจ้าของทรัพย์สินของคนทั งประเทศรวมกัน

                 มหาเศรษฐีระดับพันล้านในประเทศไทยเพิ่มขึ นจาก 5 คนในปี 2551 เป็น 28 คน ในปี 2558 แต่คนไทย 10%

                 หรือประมาณ 7 ล้านคน ยังมีชีวิตอยู่ใต้เส้นความยากจน คนไทยมากกว่า 3 ใน 4 ไม่ได้เป็นเจ้าของที่ดินใดๆ เลย

                                                                    1
                 โฉนดที่ดิน 61% ของประเทศไทยอยู่ในมือประชากรเพียง 10%   จึงเกิดค้าถามขึ นว่า การผลักภาระในการแก้ไข
                 ปัญหาให้เป็นหน้าที่ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ เหมาะสมและเป็นแนวทางที่ถูกต้องหรือไม่ ชุมชนท้องถิ่น

                 ซึ่งเป็นเสมือนรากฐานที่ส้าคัญของประเทศก้าลังท้าอะไรอยู่ การพึ่งพาตนเองของชุมชนท้องถิ่นเหมือนในอดีต

                 ซึ่งเคยสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ท้าไมจึงถูกลืมเลือนไปทั งๆ ที่น่าจะเป็นโอกาสในการแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด

                 ที่สุด


                        ในปัจจุบันประเทศไทยมี “ชุมชนท้องถิ่น” (หมู่บ้าน) อยู่ทั งสิ น 75,032 ชุมชน ทั่วประเทศ (ข้อมูล

                 จาก กรมการปกครอง, 13 มีนาคม 2560) ชุมชนท้องถิ่นจึงเสมือนเป็นรากฐานที่ส้าคัญของการพัฒนาประเทศ

                 แต่จากการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทั ง 11 ฉบับ หรือนโยบายรัฐบาลต่างๆ




                        1  ปัญหาความเหลื่อมล ้าในสังคมไทย, (ออนไลน์) แหล่งที่มา, https://www.khaosod.co.th/special-stories/

                 news_1917116
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21