Page 57 - kpi20896
P. 57
56
และส้าหรับข้อมูลแบบ Panel Data การทดสอบเพื่อหาความสัมพันธ์แบบ Cointegration นั้นมีวิธีการที่นิยม
ในการทดสอบด้วยกัน คือ
วิธีของ Pedroni (2004) ซึ่งมีสมมติฐานหลักว่าไม่มี Cointegration ในชุดข้อมูลโดย
ค่าสถิติในการทดสอบเพื่อร่วมกันพิจารณาได้แก่ Panel v- Statistic, Panel ρ - Statistic, Panel pp-
Statistic และ Panel ADF - Statistic ซึ่งเป็นลักษณะการทดสอบแบบ Group Panel Statistics โดยถ้าหาก
ผลการทดสอบปฏิเสธสมมติฐานหลักนั่นหมายความว่า “มีอย่างน้อยหนึ่งประเทศที่ตัวแปรมีความสัมพันธ์กัน
แบบ Cointegration”
วิธีของ Kao (1999) ซึ่งมีสมมติฐานหลักว่าไม่มี Cointegration ในชุดข้อมูลโดยค่าสถิติ
ในการทดสอบ Augmented Dickey-Fuller (ADF) และถ้าหากทดสอบปฏิเสธสมมติฐานหลักนั่นหมายความ
ว่า “ชุดข้อมูลมีลักษณะเป็น Cointegration”
3.1.2.3 การทดสอบแบบจ้าลอง (Estimation Panel Methodology)
ในการประมาณการแบบจ้าลองที่มีลักษณะเป็น Balance Panel Data จะพบความหลากหลาย
ของหน่วยการวิเคราะห์ที่มีความต่อเนื่องในการเก็บข้อมูล ท้าให้ลักษณะเฉพาะของหน่วยวิเคราะห์ซึ่งในที่นี้คือ
ลักษณะเฉพาะของประเทศในกลุ่มรายได้ต่้าและรายได้ปานกลางแต่ละประเทศ อาจมีผลให้เกิดปรากฎการณ์
ที่ต่างกัน ดังนั้นความแตกต่างของหน่วยวิเคราะห์ที่เราไม่สามารถทราบได้นั้น จึงจ้าเป็นต้องเพิ่มเข้ามาในการ
ประมาณค่าแบบจ้าลอง ซึ่งสามารถแสดงได้ดังนี้
y = B + B x + ⋯ + B x + a + u , t = 1…T
k itk
1 it1
0
it
it
i
โดยที่ y คือ ค่าแปรตามของตัวแปร i ณ จุดสังเกตเวลา t
it
x คือ ค่าตัวแปรอิสระที่ j ของตัวอย่าง i ณ เวลา t โดย j = 1….k
it1
a คือ ค่าลักษณะเฉพาะที่ไม่สามารถสังเกตได้ หรือ unobserved fixed effects
i
u คือ error term
it
ส้าหรับการประเมินว่าระหว่างวิธีการประมาณค่าแบบ Random Effect Model หรือการ
ประมาณค่าแบบ Fixed Effect Model วิธีการใดเหมาะสมในการประมาณค่าแบบจ้าลองกว่ากันนั้น อาศัย
หลักในการเลือกวิธีที่ค้านึงถึงค่าสัมประสิทธิ์และค่าคงที่ โดยอาจค้านึงถึงความเหมาะสมของทฤษฎีและ
สภาพเชิงประจักษ์ เช่น การพบว่าแต่ละหน่วยวิเคราะห์มีความแตกต่างอย่างสิ้นเชิง หรือสภาพทางทฤษฎี