Page 69 - kpi20767
P. 69
44
ตารางที่ 2.2 (ต่อ) การสังเคราะห์นิยาม ตัวชี้วัด และค าถามขององค์ประกอบการวัดหลักธรรมาภิบาลทั้ง 6 องค์ประกอบ
หลักธรรมาภิบาล นิยามศัพท์เฉพาะ หน่วยงาน/นักวิชาการ/นักวิจัย ตัวชี้วัด ค าถาม
5. หลักความรับผิด ความสามารถตอบค าถาม ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่า -การตอบสนองความ -มีความพยายามในการแก้ปัญหาให้กับประชาชน
และชี้แจงได้เมื่อมีข้อสงสัย ด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการ ต้องการของประชาชน -จัดให้มีโครงการที่เป็นประโยชน์กับประชาชนทั่วไป โดยไม่
ความรับผิดในผลงาน หรือ บ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 -การให้คุณให้โทษ ค านึงถึงฐานเสียงของตนเอง
ปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุผล (2542) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย -โครงการ/กิจกรรมใดที่ได้สัญญาให้กับประชาชนแต่ไม่
ตามเป้าหมาย ตามพันธ หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร สามารถท าได้ ได้มีการแจ้งให้ประชาชนทราบ
กิจ รวมทั้งการตอบสนอง กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 -มีความจริงใจในการน าโครงการที่เสนอโดยประชาชนไปสู่
ต่อความคาดหวังของ (2546) ถวิลวดี บุรีกุล และวันชัย การปฏิบัติ
สาธารณะ ยอมรับผลที่ วัฒนศัพท์ (2545) อลงกต แผน -ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่มีการท างานอย่างเต็มที่เพื่อ
เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน สนิท (2557) ประณีต ม่วงนวล ผลประโยชน์ประชาชนเป็นหลัก
ค ว า ม พ ร้ อ ม ที่ จ ะ ถู ก (2558) ศรีสกุล เจริญศรี (2558) -การให้บริการเต็มเปี่ยมไปด้วยอัธยาศัยที่ดี เป็นมิตรกับ
ตรวจสอบได้ ชาญยุทธ พวงก าหยาด (2558) ผู้รับบริการอยู่เสมอ
ปราณี รุ่งรักสกุล และคณะ (2558) -เจ้าหน้าที่ได้เคารพความคิดเห็นของประชาชน
และ สมชาย น้อยฉ่ า นิคม เจียร -เจ้าหน้าที่มีความเห็นอกเห็นใจประชาชน
จินดา และชัชวลิต เลาหวิเชียร -เมื่อประชาชนมีปัญหาจากการด าเนินงาน ประชาชนจะมา
(2559) ปรึกษาหารือได้เสมอ
-เจ้าหน้าที่เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ กับประชาชนอยู่เสมอ
-เจ้าหน้าที่มีวิธีการพูด และแสดงออกกับประชาชนได้อย่าง
เหมาะสม
-เจ้าหน้าที่แสดงออกถึงความเห็นอกเห็นใจที่จะรับฟังปัญหา
ที่เกิดขึ้นจากประชาชน