Page 162 - kpi20470
P. 162
1.2 ความต้องการให้มีการปฏิรูปการบริการสาธารณะ 147
ผลส ารวจความคิดเห็นของประชาชนตั้งแต่ปี 2548 – 2560 พบว่า การบริการสาธารณะที่ประชาชน
ต้องการให้รัฐปฏิรูปมากที่สุด คือ ด้านเศรษฐกิจ เช่น การมีงานท ามีรายได้ ร้อยละ 81.6 รองลงมาคือ ด้านคุณภาพ
ชีวิต เช่น การดูแลสุขภาพ สาธารณสุข การกีฬา ร้อยละ 61.4 ด้านสาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา ขนส่ง
สาธารณะ ร้อยละ 45.3 ด้านการศึกษา ร้อยละ 33.3 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 33.2 ด้าน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 7.9 และด้านศิลปวัฒนธรรม ร้อยละ 5.5 ตามล าดับ
แผนภาพที่ 2-131 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการบริการสาธารณะที่ต้องการให้รัฐปฏิรูป
แผนภาพที่ 2-131 ร้อยละของประชาชน จ าแนกตามการบริการสาธารณะที่ต้องการให้รัฐปฏิรูป
รายงานสถานการณ์ 81.6 บริการสาธารณะทีต้องการให้ปฏิรูป
61.4
ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย
45.3
33.3 33.2
7.9 5.5
เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต สาธารณูปโภค การศึกษา ความปลอดภัยฯ ทรัพยากรธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม
ที่มา : สถาบันพระปกเกล้า, ความเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ.2560 และสรุปผลการส ารวจ พ.ศ.2545-2560.
ที่มา : สถาบันพระปกเกล้า, ความเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ.2560 และสรุป
ผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560.
2. ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถิติเกี่ยวกับการใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชน ตั้งแต่ปี 2548 – 2560 พบว่า
ประชาชนร้อยละ 60.5 เป็นผู้ไม่เคยติดต่อหรือใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขณะที่ผู้ที่เคยติดต่อหรือใช้
2. ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการใช้บริการ
บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเพียงร้อยละ 39.5
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส าหรับความพึงพอใจของผู้ที่เคยมาติดต่อหรือใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความพึงพอใจ
สถิติเกี่ยวกับการใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชน ตั้งแต่ปี 2548 – 2560 พบว่า
(ค่อนข้างพอใจถึงพอใจมาก) ร้อยละ 93.1 ของบริการที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขณะที่ประชาชนที่
ประชาชนร้อยละ 60.5 เป็นผู้ไม่เคยติดต่อหรือใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขณะที่ผู้ที่เคยติดต่อ
ไม่พอใจ (ไม่ค่อยพอใจถึงไม่พอใจเลย) ร้อยละ 5.9 ของบริการที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และไม่มี
หรือใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเพียงร้อยละ 39.5
ความคิดเห็นเกี่ยวกับบริการ ร้อยละ 1.0
สำหรับความพึงพอใจของผู้ที่เคยมาติดต่อหรือใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความพึงพอใจ
(ค่อนข้างพอใจถึงพอใจมาก) ร้อยละ 93.1 ของบริการที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขณะที่
ประชาชนที่ไม่พอใจ (ไม่ค่อยพอใจถึงไม่พอใจเลย) ร้อยละ 5.9 ของบริการที่ได้รับจากองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น และไม่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบริการ ร้อยละ 1.0
นอกจากนี้สถิติเกี่ยวกับการเข้าไปมีส่วนร่วมของประชาชนหรือเคยเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 72.8 ระบุว่าไม่เคยเข้าไปมีส่วนร่วม ขณะที่
ประชาชนที่เคยเข้าไปมีส่วนร่วมมีเพียงร้อยละ 27.2 โดยผู้ที่เคยเข้าไปมีส่วนร่วมระบุว่า เคยเข้าไปทำ
กิจกรรมการประชุมหมู่บ้านถึงร้อยละ 95.9 วางแผนพัฒนาท้องถิ่น ร้อยละ 24.1 อีกร้อยละ 0.3 เคยร่วมกิจ
กรรมอื่นๆ และร้อยละ 0.4 ไม่ระบุ
150 สถาบันพระปกเกล้า