Page 264 - kpi19912
P. 264
2. เทศบาลต าบลพระสมุทรเจดีย๑ และหนํวยงานรัฐอื่นต๎องการสร๎างศูนย๑สาธิตการบริหารจัด การ
วัสดุเหลือใช๎จากชุมชนด๎วยเทคโนโลยีสะอาด
ผู้เกี่ยวข้องอื่น:
1. ผู๎วําราชการจังหวัดสมุทรปราการ 2. องค๑การบริหารสํวนจังหวัดสมุทรปราการ 3. นายอ าเภอ
เมือง 4. กรมควบคุมมลพิษ 5. สื่อมวลชน 6. อบต.แหลมฟูาผํา 7. อบต.ในคลองบางปลากด 8.อบต.บ๎าน
คลองสวน 9. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล๎อม 10. คณะท างานขับเคลื่อนการด าเนินการแก๎ไขปัญหาขยะ
มูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 11.องค๑กรพัฒนาพลังงานใหมํและเทคโนโลยีอุสาหกรรมแหํงประเทศญี่ปุุน 12.
โรงเรียนคลองนาเกลือน๎อย อ.พระสมุทรเจดีย๑ จ.สมุทรปราการ
ระยะเวลา: พ.ศ. 2559 - 2561
สถานะ: มีการด าเนินการแก๎ไขปัญหาสร๎างความเข๎าใจรํวมกันดีขึ้น
พลวัต: ชาวบ๎านได๎มีการรวบรวมรายชื่อเพื่อคัดค๎านโครงการกํอสร๎างนี้กวํา 1,000 คน และยื่นหนังสือ
ให๎กับนายโยชิโนริ ฟูรูกาวํา หัวหน๎าตัวแทนประจ าภูมิภาคอาเซียน ส านักงานกรุงเทพมหานคร แตํ
สถานการณ๑ตอนนี้ได๎คลี่คลาย
ระดับความรุนแรง: ไมํมีความเสียหายทั้งตํอทรัพย๑สินและรํางกาย
วิธีการแก้ไข:
กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของทุกฝุายที่
เกี่ยวข๎องโดยต๎องชี้แจงข๎อมูลที่ถูกต๎องและชัดเจน มีความจริงใจและซื่อสัตย๑ในการท างานทั้งภาครัฐและ
เอกชนควรค านึงถึงหลักธรรมาภิบาล จะท าให๎อยูํรํวมกันได๎อยํางสันติ
แหล่งข้อมูล:
ขําว 7 สี. “ความส าเร็จของชุมชนบริหารจัดการขยะ.” 10 กุมภาพันธ๑ 2561.
ไทยรัฐ. “สมุทรปราการ ชาวบ้านรวมตัว ต้านก่อสร้างโรงงานก าจัดขยะ.” 19 กันยายน 2559.
259