Page 260 - kpi19912
P. 260
กพร.จะน ามติ ครม.เพื่อไปติดตามทําทีของประชาชนทุกฝุาย ทั้งฝุายสนับสนุนและฝุายคัดค๎าน
การประกอบกิจการเหมืองแรํทองค าในพื้นที่ตํางๆ “จะมีการประเมินสถานการณ์ หากผู้คัดค้านยอมรับใน
ยุทธศาสตร์ 7 ด้านตามมติ ครม.และ ไม่มีการคัดค้านอีก ก็เตรียมจะพิจารณาค าขออนุญาตส ารวจแร่
ทองค า จากเอกชนที่มีเข้ามารวม 10 ราย คิดเป็นปริมาณพื้นที่ส ารวจ 30,000 ไร่”
พื้นที่ที่มีค าขออนุญาตส ารวจแรํทองค า เชํน จ.พิษณุโลก จ.เพชรบูรณ๑ จ.พิจิตร จ.ลพบุรี จ.
สระบุรี จ.นราธิวาส ซึ่ง กพร.คาดวําพื้นที่เหมืองแรํทองค าของบริษัท อัครารีซอร๑สเซส จ ากัด (มหาชน) ใน
พื้นที่คาบเกี่ยว จ.พิจิตร จ.เพชรบูรณ๑ และ จ.พิษณุโลก รวมถึงพื้นที่เหมืองทองค าของบริษัท ทุํงคาฮา
เบอร๑ จ ากัด (มหาชน) ที่ จ.เลย คาดวํามีสายแรํทองค าอยํางแนํนอน เพราะพื้นที่ปัจจุบัน ประทานบัตรใน
พื้นที่เหมืองยังมีอายุเหลืออีก 10 ปี
คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน:
1.ชาวบ๎านในเขตเทศบาลต าบลล านารายณ๑และใกล๎เคียงไมํต๎องการเหมืองแรํทองค าในพื้นที่ อ.
ชัยบาดาล
2. กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแรํ ต๎องการให๎มีการส ารวจและท าเหมืองแรํทองค า
ของจ.ลพบุรี
ผู้เกี่ยวข้องอื่น: ผู๎วําราชการจังหวัดลพบุรี คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรํแหํงชาติ องค๑การ
บริหารสํวนต าบลชํอสาลิกา บริษัท อัครารีซอร๑สเซส จ ากัด (มหาชน) บริษัท ทุํงคาฮาเบอร๑ จ ากัด
(มหาชน) ตัวแทนชาวบ๎านจากจังหวัด พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ๑ สระบุรี
และลพบุรี ส านักงานปูองการและปราบปรามการทุจริตแหํงชาติ
ระยะเวลา: 2558 - 2561
สถานะ: รัฐบาลให๎มีการส ารวจและท าเหมืองแรํทองค า
พลวัต: สถานการณ๑ขยายตัวเนื่องจากคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบกรอบนโยบายและแผนยุทธ ศาสตร๑
ในการบริหารจัดการทรัพยากรแรํทองค า
ระดับความรุนแรง: ไมํมีความเสียหาย
วิธีการแก้ไข: -มีการประชุมของหนํวยงานภาครัฐและเจรจากับชาวบ๎านเพื่อรับทราบความเดือดร๎อนและ
รํวมกันหาทางออกเพื่อหาแนวทางการแก๎ไขปัญหา
กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ การเจรจารํวมกันของทุกฝุายที่เกี่ยวข๎อง
ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ การมีสํวนรํวมของประชาชนในการ
ตัดสินใจเข๎ารํวมการคัดค๎านโครงการฝังกลบขยะ
แหล่งข้อมูล:
255