Page 259 - kpi19912
P. 259
8 สิงหาคม 2560 มีรายงานจากท าเนียบรัฐบาลวํา พล.อ.ประวิตร วงษ๑สุวรรณ รองนายก
รัฐมนตรี ในฐานะคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรํแหํงชาติ (คนร.) รับความเห็นของคณะรัฐมนตรี
(ครม.) สั่งการไปยังกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแรํ (กพร.) กระทรวงอุตสาหกรรม ให๎เรํงออก
ประกาศและจัดท ารายละเอียดหลักเกณฑ๑ตํางๆ ภายหลังคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบกรอบนโยบาย
และแผนยุทธศาสตร๑ในการบริหารจัดการทรัพยากรแรํทองค า จ านวน 7 ด๎าน ทั้งนี้ มติ ครม.เห็นชอบตาม
มติการประชุม คนร.ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2560 เพื่อให๎ภาครัฐและท๎องถิ่นได๎รับ
ผลประโยชน๑ตอบแทนจากการประกอบกิจการเหมืองแรํทองค าที่เหมาะสม ประชาชนในชุมชนมีสํวนรํวม
ในการบริหารจัดการทรัพยากรแรํทองค าเพิ่มขึ้น ปัญหาผลกระทบจากการประกอบกิจการเหมืองแรํ
ทองค าลดลง ผู๎ประกอบการเหมืองแรํทองค ามีการประกอบกิจการที่มีมาตรฐานสากล มีความรับผิดชอบ
ตํอสังคมและชุมชน และสามารถอยูํรํวมกับชุมชนได๎อยํางยั่งยืน มีรายงานวํา ส าหรับกรอบนโยบายและ
แผนยุทธศาสตร๑ในการบริหารจัดการทรัพยากรแรํทองค า มีวัตถุประสงค๑เพื่อใช๎เป็นแนวทางในการบริหาร
จัดการทรัพยากรแรํทองค าให๎เกิดประโยชน๑สูงสุดตํอประเทศ โดยค านึงถึงดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล๎อม โดยแบํงออกเป็น 7 ด๎าน ได๎แกํ
1. ด๎านการบริหารจัดการแหลํงแรํทองค า ก าหนดให๎มีการประมูลสิทธิส ารวจและท าเหมืองแรํ
ทองค า ในพื้นที่ที่ภาครัฐส ารวจและมีข๎อมูลเพียงพอ ห๎ามมิให๎สํงออกโลหะผสมทองค าไปตํางประเทศ
ก าหนดเงื่อนไขการ จ๎างงานชาวไทย ยกเลิกการให๎สิทธิประโยชน๑ด๎านการสํงเสริมการลงทุน ยกระดับการ
มีสํวนรํวมในเชิงนโยบายระหวํางผู๎มีสํวนได๎เสียตลอดหํวงโซํการผลิต
2. ด๎านผลประโยชน๑ตอบแทนแกํรัฐและท๎องถิ่น ปรับปรุงผลตอบแทนแกํรัฐให๎เหมาะสมยิ่งขึ้น
และกระจายผลประโยชน๑ให๎แกํท๎องถิ่นและท๎องถิ่นอื่นที่อยูํติดกันด๎วย จัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาหมูํบ๎าน
รอบพื้นที่เหมืองแรํ
3. ด๎านความปลอดภัย การปูองกันรักษาคุณภาพสิ่งแวดล๎อมและการฟื้นฟูพื้นที่ ก าหนดให๎มีการ
ตั้งกองทุน วางหลักประกัน และการท าประกันภัยตํางๆ เพื่อเป็นหลักประกันในการเยียวยาแก๎ปัญหาใน
กรณีที่เกิดผลกระทบตํอชุมชนและสิ่งแวดล๎อม การจัดท าแนวพื้นที่กันชนการท าเหมือง และการจัดท า
ข๎อมูลพื้นฐานด๎านสิ่งแวดล๎อมและสุขภาพของประชาชน
4. ด๎านการก ากับดูแลการประกอบการ มีการก ากับดูแลอยํางเครํงครัดจากภาครัฐ โดยมี
คณะกรรมการควบคุมเฝูาระวังผลกระทบจากการท าเหมืองแรํทองค า ซึ่งมีตัวแทนผู๎มีสํวนได๎เสียรํวมเป็น
กรรมการ เพื่อเข๎ามามีสํวนรํวมในการตรวจสอบก ากับดูแลการประกอบกิจการ
5. ด๎านการมีสํวนรํวมของประชาชน เพิ่มการมีสํวนรํวมของประชาชนทั้งในขั้นตอนการขอ
อนุญาต โดยการรับฟังความคิดเห็นของชุมชน ทั้งในขั้นตอนการขอประทานบัตรและการจัดท ารายงาน
การวิเคราะห๑ผลกระทบสิ่งแวดล๎อม รวมถึงเพิ่มการมีสํวนรํวมของประชาชนในขั้นตอนการประกอบ
กิจการ ซึ่งจะก าหนดให๎มีตัวแทนผู๎มีสํวนได๎เสียของประชาชนในพื้นที่รํวมเป็นคณะกรรมการควบคุมเฝูา
ระวังผลกระทบจากการท าเหมืองแรํทองค าด๎วย
6. ด๎านความรับผิดชอบตํอสังคมและชุมชน ก าหนดให๎ผู๎ประกอบการต๎องปฏิบัติตามและผํานการ
ทวนสอบมาตรฐานความรับผิดชอบตํอสังคมอุตสาหกรรมแรํ (CSR-DPIM) ยกระดับการประกอบกิจการ
เหมืองแรํทองค าให๎มีความรับผิดชอบตามมาตรฐานสากล (Responsible gold mining practice)
7. ด๎านอื่นๆ ก าหนดให๎การขอตํออายุประทานบัตรแรํทองค าและการเพิ่มชนิดแรํทองค า ใช๎
นโยบายนี้โดยอนุโลม แตํไมํครอบคลุมถึงการรํอนแรํทองค า
254