Page 19 - kpi19912
P. 19

พมําเรียกวําพื้นที่สีด า  การสร๎างทํอก๏าซเข๎าไปในพื้นที่ดังกลําว กลายเป็นแผนยุทธศาสตร๑ในการกวาด
                   ล๎างกองก าลังชนกลุํมน๎อย กองก าลังทหารที่เข๎าไปดูแลทํอก๏าซ  บีบคับชาวบ๎านให๎มีการย๎ายถิ่นฐาน

                   เพื่อการวางทํอก๏าซ และได๎ท าการเกณฑ๑แรงงานมาเพื่อสร๎างทางรถไฟขนสํงอุปกรณ๑กํอสร๎าง สร๎าง
                   คํายทหารและคํายพักส าหรับเจ๎าหน๎าที่เกี่ยวข๎องกับการสร๎างทํอก๏าซ และยังมีข๎อมูลแสดงถึงการ
                   กระท าทารุณกรรมตําง ๆ ตํอชาวบ๎านตามแนวทํอนั้น ท าให๎มีการฟูองร๎องบริษัทยูโนแคล หนึ่งในผู๎
                   รํวมทุน เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ยังศาลแขวงเมืองลอสแองเจลลิส ในสหรัฐอเมริกา ในขณะนั้น

                   ได๎มีการออกกฎหมายใหมํให๎มีการบอยคอตบริษัทธุรกิจอเมริกันที่ไปลงทุนในประเทศสหภาพพมํา ซึ่ง
                   คดีถึงที่สิ้นสุดด๎วยการที่ศาล    ประเด็นด๎านสิ่งแวดล๎อมที่เป็นปัญหาใหญํอีกเรื่องหนึ่งในการสร๎างทํอ
                   ก๏าซโดยเฉพาะในสํวนของทํอที่วางในประเทศไทยมีสํวนที่ต๎องผํานเข๎าไปในเขตอุทยานแหํงชาติไทรโย

                   คเป็นระยะทางประมาณ 50  กิโลเมตร โดยผํานพื้นที่ปุาเสื่อมโทรม 44  กิโลเมตรและพื้นที่ปุาสงวน
                   ห๎วยเขยํง ที่กรมปุาไม๎ก าหนดให๎เป็นพื้นที่ปุาลุํมน้ าชั้น 1  เอ ที่ก าลังจะยกฐานะเป็นอุทยานแหํงชาติ
                   ทองผาภูมิอีก 6 กิโลเมตร มูลคําการลงทุนของการวางทํอก๏าซในฝั่งไทยมีมูลคําราว 16,500 ล๎านบาท
                   ประเด็นปัญหาเรื่องสิ่งแวดล๎อมนี้ท าให๎เกิดความเคลื่อนไหวในการคัดค๎านจากกลุํมอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อม
                   ในประเทศไทย โดยมี “กลุํมอนุรักษ๑กาญจน๑”  ที่เป็นกลุํมชาวบ๎านในจังหวัดกาญจนบุรีเป็นหัวขบวน

                   รํวมกับพันธมิตรตําง ๆ เชํน กลุํมนักศึกษา และองค๑กรพัฒนาเอกชนด๎านสิ่งแวดล๎อมและสิทธิมนุยชน
                   ที่ใช๎มาตรการปิดปุาโดยเข๎ามาพักแรมในปุาขวางทางแนววางทํอก๏าซตั้งแตํวันที่ 21  ธันวาคม พ.ศ.
                   2540  คนส าคัญคนหนึ่งที่ตํอมาได๎เข๎ามารํวมปิดปุาได๎แกํ ส.ศิวรักษ๑  นักเคลื่อนไหวคนส าคัญ การ

                   เคลื่อนไหวของกลุํมตําง ๆ นี้ มีการให๎ข๎อมูลกับสังคมถึงอีกความจริงอีกด๎านหนึ่งของโครงการ เชํน
                   โครงการทํอก๏าซผํานการอนุมัติแบบลัดขั้นตอน ผิดพระราชบัญญัติสํงเสริมและรักษาคุณภาพ
                   สิ่งแวดล๎อม พ.ศ. 2535  มีการอนุมัติโครงการไปกํอนแล๎วศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล๎อมตามหลัง,
                   การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล๎อมที่ใช๎เวลาน๎อยเกินไป จะเกิดผลกระทบตํอสัตว๑หายากเชํน ค๎างคาว

                   กิตติ ที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกและมีที่เดียวอยูํในแนวทํอก๏าซ ปูราชินีที่พบแหํงเดียวในโลกและมี
                   ถิ่นอาศัยในบริเวณแนวทํอก๏าซ เป็นต๎น เมื่อต๎องเผชิญหน๎ากับแรงต๎านที่มีมากขึ้นท าให๎รัฐบาลของนาย
                   ชวน หลีกภัย ได๎สั่งระงับการวางทํอเป็นเวลา 10  วัน และให๎ฝุายที่คัดค๎านถอยออกจากแนววางทํอ
                   กํอนจะท าการแตํงตั้งคณะกรรมการแหํงชาติเพื่อแก๎ปัญหาความขัดแย๎งทํอก๏าซ มารับฟังข๎อมูลจากทั้ง

                   2  ฝุาย และสรุปเรื่องทั้งหมดน าเสนอตํอรัฐบาลเพื่อท าการตัดสินใจวําจะด าเนินโครงการนี้ตํอไป
                   อยํางไร
                           วันที่ 12 กุมภาพันธ๑ พ.ศ.2541 คณะกรรมการชุดนี้มีนายอานันท๑ ปันยารชุน เป็นประธาน
                   และยังประกอบไปด๎วยผู๎ที่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในสังคมอีกหลายคน  โดยใช๎เวลารับฟังตั้งแตํวันที่

                   14-18  กุมภาพันธ๑  หลังจากใช๎เวลา 5  วันในการรับฟัง คณะกรรมการฯ สรุปวํา โครงการมีความไมํ
                   โปรํงใส ประชาชนมีสิทธิในการรับรู๎ข๎อมูล และมีสิทธิในการคัดค๎านอยํางสงบสันติ ผู๎รับผิดชอบ
                   โครงการไมํได๎ให๎ความส าคัญกับปัญหาตําง เหตุผลส าคัญของ ปตท. ในการไมํยอมเปลี่ยนแนวทํอจาก

                   ในปุาออกไปวางตามแนวถนน คือข๎ออ๎างเรื่องการลงทุนที่ต๎องลงทุนเพิ่มอีกราว 2,800 ล๎านบาท และ
                   เหตุผลส าคัญที่ไมํสามารถยกเลิกโครงการได๎ มาจากข๎ออ๎างในเรื่องความต๎องการพลังงานของประเทศ
                   ที่มีการพยากรณ๑ไว๎ลํวงหน๎าถึงความต๎องการใช๎ไฟฟูา    วันที่ 4 พ.ค. 2554  ปตท. ก าหนดจัดเวทีรับ
                   ฟังความคิดเห็นเพื่อก าหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล๎อมและสุขภาพของ
                   โครงการวางทํอสํงก๏าซธรรมชาติบนบก จากชายแดนไทย-สหภาพพมํา มายังสถานีควบคุมความดัน

                   ก๏าซฯ ฝั่งตะวันตกที่ เพื่อเปิดโอกาสให๎กลุํมผู๎มีสํวนได๎เสียของโครงการในทุกภาคสํวน ตลอดจน
                   ประชาชนทั่วไป มีสํวนรํวมแสดงความคิดเห็นตํอการก าหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผล

                                                            12
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24