Page 23 - kpi19912
P. 23

ตกใน พื้นที่เขตสลักพระจ านวนน๎อยมาก จึงท าให๎แหลํงน้ าในเขตฯสลักพระหลายสิบบํอ มีปัญหาน้ า
                   น๎อยมาก ซึ่งปริมาณน้ าในพื้นที่น๎อยมากอาจจะสํงผลกระทบท าให๎เกิดปัญหาตํอการด ารง ชีวิตของ

                   สัตว๑ปุาและระบบนิเวศน๑ทั้งระบบในพื้นที่ได๎เชํนกัน" หน.เขตฯสลักพระกลําว
                          เมื่อวันที่ 8 มี.ค. 61 ที่ เขตรักษาพันธุ๑สัตว๑ปุาสลักพระ จ.กาญจนบุรี  กรมอุทยานแหํงชาติ
                   น าคณะสื่อมวลชนเยี่ยมชมวิถีชีวิต “ช๎าง” ที่มีความสัมพันธ๑และผูกพันกับวิถีชีวิตของคนไทยมาเป็น
                   เวลานาน  เนื่องจากการขยายตัวของชุมชน การขยายพื้นที่เกษตร การกํอสร๎างสาธารณูปโภคพื้นฐาน

                   ซึ่งปัญหาดังกลําวเป็นปัจจัยหลักกํอให๎เกิดปัญหาช๎างปุาออกมาท าลายพืชผลทางการเกษตรของ
                   ราษฎรที่อาศัยใกล๎ชิดตามแนวขอบพื้นที่ปุาอนุรักษ๑ ซึ่งก าลังกลายเป็นปัญหาที่ส าคัญและเพิ่มความ
                   รุนแรงขึ้นทุกปี   อีกทั้งปัญหาดังกลําวยังมีแนวโน๎มวําจะขยายตัวและมีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต

                   ดร.กาญจนา นิตยะ ผู๎อ านวยการส านักอนุรักษ๑สัตว๑ปุา กลําวถึง แผนงานและแนวทางการจัดการและ
                   แก๎ปัญหาช๎างปุาในพื้นที่เขตรักษาพันธุ๑สัตว๑ปุาสลักพระวําเขตรักษาพันธุ๑สัตว๑ปุาสลักพระเป็นหนึ่งใน
                   พื้นที่ปุาอนุรักษ๑อีกหลายแหํงในประเทศไทย ที่ประสบปัญหาจากการที่ช๎างปุาออกนอกพื้นที่ปุาและ
                   เกิดเป็นปัญหาความขัดแย๎งระหวํางคนกับช๎างปุามานานหลายปี ปัจจุบันพบวํามีจ านวนช๎างปุาอาศัย
                   อยูํราว 180 – 200 ตัว และหนึ่งในจ านวนนี้มีช๎างปุาหลายสิบตัวที่มักออกหากินออกพื้นที่ปุาอนุรักษ๑

                   อยูํเป็นประจ า การอนุรักษ๑และ การจัดการช๎างปุาในสภาวะปัจจุบัน จ าเป็นต๎องมีการด าเนินงานบน
                   พื้นฐานของข๎อมูลที่เป็นวิทยาศาสตร๑และต๎องมีการด าเนินการทั้งในและนอกพื้นที่ปุาอนุรักษ๑
                               อยํางไรก็ตามการอนุรักษ๑และการจัดการช๎างปุารวมไปถึงสัตว๑ปุาชนิดอื่นยังต๎องการความ

                   รํวมมือจากทุก ๆ ภาคสํวนอีกมาก เนื่องจากช๎างปุาและสัตว๑ปุาที่ส าคัญหลายชนิดเป็นสัตว๑ขนาดใหญํ
                   ต๎องการพื้นที่อาศัยที่กว๎างขวาง ดังนั้นผืนปุาที่มีขนาดเล็กจึงไมํสามารถรองรับประชากรของสัตว๑ปุา
                   เหลํานี้ได๎อยํางยั่งยืน ความรํวมมือจากทุกภาคสํวนในการอนุรักษ๑พื้นที่ปุาธรรมชาติจึงมีความส าคัญ
                   ตํอการอนุรักษ๑ประชากรช๎างปุาและสัตว๑ปุาของไทย โครงการพัฒนาตําง ๆที่มีแผนด าเนินการในพื้นที่

                   ปุาไม๎และพื้นที่ปุาอนุรักษ๑จ าเป็นต๎องให๎ความส าคัญตํอความอยูํรอดและความยั่งยืนของประชากรช๎าง
                   ปุาและสัตว๑ปุาในพื้นที่ปุาไม๎เหลํานั้นด๎วย ประชาชนทุกคนก็ต๎องมีสํวนรํวมเป็นเครือขํายอนุรักษ๑
                   การปูองกัน และการคุ๎มครองพื้นที่ปุาไม๎ซึ่งเป็นบ๎านของช๎างปุาและสัตว๑ปุาชนิดตําง ๆ ให๎สามารถเป็น
                   แหลํงอาศัยที่สมบูรณ๑และมีความยั่งยืนสืบไป


                   คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน :
                       1.  ช๎างปุาเขตรักษาพันธุ๑สัตว๑ปุาสลักพระ ออกมาท าลายพืชผลทางการเกษตรและทรัพย๑สินของ
                   ราษฎรบริเวณพื้นที่รอบเขตรักษาพันธุ๑สัตว๑ปุาสลักพระ

                       2. ราษฎรที่ได๎รับผลกระทบจากการท าลายพืชไรํของช๎างปุา ต๎องการได๎รับการแก๎ไขปัญหา

                   ผู้เกี่ยวข้องอื่น :

                       1.  ผู๎อ านวยการสํวนคุ๎มครองสัตว๑ปุา  2. นายอ าเภอเมืองกาญจนบุรี  3.องค๑กรการปกครอง
                   สํวนท๎องถิ่นที่เกี่ยวข๎อง  4. เจ๎าหน๎าที่จากเครือขํายอนุรักษ๑ช๎าง (ECN) กาญจนบุรี 5.สื่อมวลชน

                   ระยะเวลา :  พ.ศ.2533 - พ.ศ.2561


                   สถานะ:  อยูํระหวํางการด าเนินการแก๎ไข


                                                            16
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28