Page 18 - kpi19912
P. 18

3.ปัญหาท่อส่งก๊าซ ไทย-พม่า


                   พื้นที่ : จังหวัดกาญจนบุรี

                   ประเภท : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม


                   ระดับการรับรู้ของสังคม : ระดับชาติ


                   ประเด็นขัดแย้ง : คณะรัฐมนตรีมีมติให๎มีการวางทํอสํงก๏าซไทย-พมํา แตํโครงการนี้สร๎างปัญหาการ
                   ละเมิดสิทธิมนุษยชนของชนกลุํมน๎อยที่อาศัยอยูํในพื้นที่โครงการด๎านประเทศสหภาพพมํา และปัญหา
                   ผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อม จากการวางทํอก๏าซผํานผืนปุาอนุรักษ๑จึงถูกคัดค๎านจากชาวบ๎าน

                   ความเป็นมา :

                          โครงการทํอสํงก๏าซไทย-พมํา เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค๑เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมด๎าน
                   ชายฝั่งตะวันตก โดยได๎เริ่มในสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ทางรัฐบาล เริ่มจากคณะรัฐมนตรีมีมติให๎
                   การปิโตรเลียมแหํงประเทศไทย (ปตท.) ได๎รับมติจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5  ตุลาคม 2536  สมัย

                   รัฐบาลนายชวน หลีกภัย ได๎เรํงรัดการจัดหาก๏าซธรรมชาติโดยเจรจารับซื้อก๏าซจากแหลํงยาดานาและ
                   เยตากุนของสหภาพพมําเพื่อให๎ทันกับแผนการกํอสร๎างโรงไฟฟูาพลังความร๎อนรํวมของการไฟฟูาฝุาย
                   ผลิตแหํงประเทศไทย (กฟผ.) ที่จังหวัดราชบุรี ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 31  พฤษภาคม 2537
                   ให๎ ปตท. เรํงจัดหาก๏าซใหผู๎ผลิตไฟฟูาอื่นที่จะเกิดขึ้นในบริเวณใกล๎เคียงภายใต๎เงื่อนไขเดียวกับ กฟผ.

                   เพื่อให๎มีพลังงานจากก๏าซธรรมชาติเพียงพอตํอการใช๎งานซึ่งคาดวําจะสูงถึง 3,000  ล๎านลูกบาศก๑ฟุต
                   ตํอวันชในปี 2543 และการปิโตรเลียมแหํงประเทศไทย เซ็นสัญญาซื้อขายก๏าซธรรมชาติจากรัฐบาล
                   ทหารพมําเป็นระยะเวลา 30  ปี เมื่อวันที่ 2  กุมภาพันธ๑ พ.ศ. 2538  โดยก าหนดจุดรับก๏าซที่บ๎าน อี
                   ตํอง อ าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และวางทํอสํงก๏าซเชื่อมไปยังโรงฟูาราชบุรี มีก าหนดให๎การ

                   กํอสร๎างเสร็จสิ้นในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 โครงการนี้ถูกคัดค๎านอยํางมาก เนื่องจากมีปัญหา
                   ใน 2  ประเด็นที่ส าคัญ คือ ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนของชนกลุํมน๎อยที่อาศัยอยูํในพื้นที่
                   โครงการด๎านประเทศสหภาพพมํา และปัญหาผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อม จากการวางทํอก๏าซผํานผืน
                   ปุาอนุรักษ๑ ประเด็นปัญหาเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนของการลงทุนในครั้งนี้ ถูกตั้งค าถามจาก

                   หลายฝุายนับตั้งแตํบริษัทโทเทลได๎ท าการจํายเงินคําสัมปทานส าหรับการขุดเจาะก๏าซเป็นจ านวน 15
                   ล๎านดอลลําร๑สหรัฐฯ ให๎กับรัฐบาลทหารของพมําในปี พ.ศ. 2535  แล๎วตามมาด๎วยขําวการสั่งซื้ออาวุธ
                   ยุทโธปกรณ๑ของรัฐบาลทหารพมําหลังจากได๎รับเงินก๎อนดังกลําว ฝุายที่คัดค๎านการให๎สัมปทานในการ

                   ขุดเจาะและขายก๏าซธรรมชาติจากแหลํงยาดานา เชื่อวําโครงการนี้จะท ารายได๎ให๎กับรัฐบาลทหาร
                   พมํา ปีละ 400 ล๎านดอลลําร๑สหรัฐฯ ซึ่งเป็นคิดเป็นร๎อยละ 65 ของรายได๎ทั้งหมดของประเทศ ซึ่งฝุาย
                   ที่คัดค๎านเชื่อวํารายได๎ของการลงทุนของตํางชาติในพมํา จะถูกน าไปใช๎เป็นงบประมาณส าหรับ
                   กองทัพมากกวํา การกระจายรายได๎ออกไปสูํคนสํวนใหญํของประเทศ การเรียกร๎องในประเด็นสิทธิ
                   มนุษยชนที่มีตํอรัฐบาลทหารพมําได๎กลายมาเป็นข๎อเรียกร๎องที่มีตํอรับบาลไทยด๎วยจากฝุายที่คัดค๎าน

                   แตํทําทีของรัฐบาลไทยตํอการเรียกร๎อง คือการมองวําเป็นปัญหาภายในประเทศของสหภาพพมําที่ไมํ
                   ควรเข๎าไปยุํงเกี่ยว แตํส าหรับขบวนการเคลื่อไหวในที่ตําง ๆ ทั่วโลกประเด็นนี้เป็นเรื่องส าคัญ เพราะ
                   พื้นที่ส าหรับการวางทํอก๏าซ มายังจุดรับก๏าซที่บ๎านอีตํองในประเทศไทยนั้น เป็นพื้นที่ ๆ รัฐบาลทหาร

                                                            11
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23