Page 15 - kpi19912
P. 15

2.ความขัดแย้งกรณีสารตะกั่วปนเปื้อนล าห้วยคลิตี้


                   พื้นที่ : หมูํบ๎านคลิตี้ลําง ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

                   ประเภท : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม


                   ระดับการรับรู้ของสังคม : ระดับชาติ


                   ประเด็นขัดแย้ง : ชาวบ๎าน ในเขตหมูํบ๎านคลิตี้ลําง ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี เรียกร๎อง
                   ให๎กรรมการของบริษัท ตะกั่วคอนเซนเตรทส๑(ประเทศไทย) จ ากัด รับผิดชอบเยียวยาและฟื้นฟู
                   ล าห๎วยคลิตี้ที่ถูกปนเปื้อนด๎วยสารตะกั่วในระดับสูง

                    ความเป็นมา :

                          ปี พ.ศ.2541 ขําวการปนเปื้อนสารตะกั่วในล าห๎วยคลิตี้ ปรากฏตํอสาธารณชนหลังชาวบ๎าน
                   ตํางล๎มปุวย มีอาการผิดปกติ และจบชีวิตลงอยํางเป็นปริศนา ยะเสอะ นาสวนสุวรรณ วัย 68 ปี เลํา
                   ย๎อนไปถึงเมื่อสิบเก๎าปีกํอนวําชาวบ๎านเริ่มสงสัยวําน้ าล าห๎วยคลิตี้มีปัญหาก็เพราะสัตว๑เลี้ยงอยํางเชํน

                   วัวควายล๎มตาย น้ ามีกลิ่นเหม็น และที่ท าให๎รู๎ชัดก็คือฝูงเป็ดที่ลงไปน้ าตายหมด เขาซึ่งเป็นผู๎ชํวย
                   ผู๎ใหญํบ๎านคลิตี้ลํางตอนนั้นได๎รํวมกับชาวบ๎านไปยื่นเรื่องให๎ทางอ าเภอเข๎ามาชํวยท าความสะอาดล า
                   น้ าและหาต๎นตอของความเป็นพิษของห๎วยคลิตี้ ทางอ าเภอให๎งบมาท าน้ าประปาเพื่อจะได๎ไมํต๎องพึ่ง
                   น้ าจากล าห๎วย "แตํเขาบอกวําถ๎าจะท าล าห๎วยให๎ดีนั้นชํวยไมํได๎ ชาวบ๎านต๎องชํวยเหลือตัวเอง" สิ่งนี้

                   เองท าให๎ยะเสอะและชาวบ๎านต๎องหาหนํวยงานอื่นๆ เข๎ามาชํวยชาวบ๎าน และก็เป็นจุดเริ่มต๎นของ
                   การตํอสู๎อันยาวนาน ระหวํางทางก็มีคนเจ็บปุวยและเสียชีวิตไปหลายคน ซึ่งยะเสอะเชื่อวํามาจากพิษ
                   ของสารตะกั่ว และจนบัดนี้ทั้งตัวเขาเองและคนในหมูํบ๎านคลิตี้ลํางก็มีสารตะกั่วในเลือดสูงเกินกวํา
                   คําเฉลี่ยของคนไทยมากนัก

                          ปี พ.ศ. 2541 ศูนย๑ศึกษากระเหรี่ยงและพัฒนาร๎องเรียนตํอกรมควบคุมมลพิษให๎ตรวจสอบ
                   การปนเปื้อนของตะกั่วในห๎วยคลิตี้ ต าบลชะแล อ าเภอทองผาภูมิจังหวัดกาญจนบุรี เพราะเกิดเหตุ
                   รั่วไหลของน้ าจากบํอเก็บกักตะกอนหางแรํ (Tailing  Pond) จากกิจกรรมการแตํงแรํตะกั่วของโรง
                   แตํงแรํ บริษัท ตะกั่วคอนเซนเตรทส๑(ประเทศไทย) จ ากัดลงสูํห๎วยคลิตี้ ท าให๎เกิดความวิตกกังวลตํอ

                   สุขภาพของคนในหมูํบ๎าน
                          ปี 2542 หนํวยแพทย๑เคลื่อนที่ กรมอนามัยเข๎าไปตรวจเลือกชาวบ๎านคลิตี้ลํางพบวําผู๎อยูํ
                   อาศัยในหมูํบ๎านคลิตี้ลํางซึ่งอยูํหลังบํอเก็บกักตะกอนหางแรํมีระดับสารตะกั่วในเลือดสูงในทุกชํวง

                   อายุระหวําง 23.56- 26.31 มิลลิกรัมตํอเดซิลิตร ทั้งที่การส ารวจระดับสารตะกั่วในเลือดเฉลี่ยของ
                   คนไทยทั่วไปในปี 2538-2539 โดยกรมอาชีวะอนามัยนั้นอยุํที่ 4.29 มิลลิกรัมตํอเดซิลิตรเทํานั้น
                   สํวนรายงานของส านักงานจัดการคุณภาพน้ า กรมควบคุมมลพิษซึ่งเริ่มตรวจหาปริมาณสารตะกั่วใน
                   ล าห๎วยคลิตี้ ในปีพ.ศ. 2541 บริเวณใต๎โรงแตํงแรํคลิตี้พบการปนเปื้อนสารตะกั่วในน้ าในรูปของตะกั่ว
                   ทั้งหมด  เกินมาตรฐานคุณภาพน้ าในแหลํงน้ าผิวดิน และพบตะกอนดินท๎องน้ าปนเปื้อนสารตะกั่วใน

                   ระดับสูงมาก สัตว๑น้ ามีการสะสมสารตะกั่วสูงกวําคํามาตรฐานอาหารให๎มีสารปนเปื้อนตามประกาศ
                   กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 98  (พ.ศ. 2529) ที่ก าหนดไว๎ไมํเกิน 1.0 มิลลิกรัม/กิโลกรัม โดยพบวํา
                   ปลา มีปริมาณตะกั่วสูงกวําคํามาตรฐานอาหารให๎มีสารปนเปื้อน 6-82 เทํา ปูมีปริมาณตะกั่วสูงกวํา

                                                            8
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20