Page 77 - kpi19910
P. 77
67
สร้างอ่างเก็บน้ ามีประโยชน์ต่อการอุปโภคบริโภคและอุตสาหกรรมต่าง ๆ จนน ามาสู่การยื่นหนังสือ จน
น าไปสู่การท าบันทึกข้อตกลงร่วมกัน
ระดับความรุนแรง : ไม่มีความเสียหายทั้งต่อทรัพย์สินและร่างกาย
วิธีการแก้ไข :
กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ
1. ชาวบ้านจากคลองท่าทน อ าเภภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รวมตัวกันยื่นหนังสือ
ให้กับหัวหน้าชลประทานที่15 เพื่อเรียกร้องให้มีการหยุดสร้างเขื่อน
2. การจัดท าบันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่างชาวบ้าน และผอ.โครงการก่อสร้าง 2 ส านัก
ชลประทานที่ 15
ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ
1. การไม่ละเมิดสิทธิของประชาชน
2. การมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความตระหนักต่อปัญหาร่วมกัน
ผลกระทบที่เกิดขึ้น :
ความวิตกกังวลต่อการที่ชาวบ้านได้รับผลกระทบจากอุตสาหกรรม
ที่มาของข้อมูล :
1. สัมภาษณ์ตัวแทนชาวบ้านในพื้นที่
2. ข่าวภาคใต้ “ชาวสิชลค้านสร้างอ่างเก็บน้ าคลองท่าทน” เมื่อวันที่ 21 ม.ค. 2553 จาก
https://mgronline.com/south/detail/9530000009062
3. เนชั่น “ชาวท่าทนรุกชลประทาน ยื่นหนังสือคัดค้านสร้างเขื่อน” เมื่อ เมษายน 2553
จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=591181