Page 203 - kpi19903
P. 203
173
ตำรำงที่ 10.17 ผลการเปรียบเทียบปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจกับผลการเลือกตั้งในระดับบุคคลและระดับเขตเลือกตั้ง
สถานภาพทาง ตัวแปรตาม ผลการวิเคราะห์ระดับเขตเลือกตั้ง ผลการวิเคราะห์ระดับบุคคล
สังคมเศรษฐกิจ
อาชีพ การเลือกตั้ง 1. แทบไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างร้อยละอาชีพของประชาชนและผลการ 1. ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการท าเกษตรกรรมมี
แบบแบ่งเขต เลือกตั้งแบบแบ่งเขตเมื่อพิจารณาความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ แนวโน้มจะเลือกพรรคประชาธิปัตย์มากกว่าเมื่อเทียบกับอาชีพอื่นๆ
2. ร้อยละอาชีพเสมียน พนักงานบริการและพนักงานขาย ประกอบวิชาชีพ 2 ประชาชนมีอาชีพรับจ้างทั่วไปมีแนวโน้มจะเลือกพรรคประชาธิปัตย์
ด้านต่าง ๆ และ ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมงสัมพันธ์ น้อยที่สุด เมื่อเทียบกับอาชีพอื่นๆ
กับร้อยละที่เลือกพรรคเพื่อไทย 3. ประชาชนที่ไม่ได้ท างานหรือเป็นแม่บ้านจะเลือกผู้สมัครจากพรรคอื่น ๆ
3. ร้อยละอาชีพช่างเทคนิคสาขาต่าง ๆ และร้อยละประกอบวิชาชีพสัมพันธ์ มากที่สุดเมื่อเทียบกับอาชีพอื่นๆ
กับร้อยละที่เลือกพรรคภูมิใจไทย (r=-.14 & -.11 ตามล าดับ) 4. 4. ร้อยละที่
ประกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ สัมพันธ์กับร้อยละที่เลือกพรรคชาติไทยพัฒนา
(r=.10)
การเลือกตั้ง 1. แทบไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างร้อยละอาชีพและผลการเลือกตั้งแบบบัญชี1. ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการท าเกษตรกรรมมี
แบบบัญชี รายชื่อ เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ แนวโน้มจะเลือกพรรคประชาธิปัตย์มากกว่าเมื่อเทียบกับอาชีพอื่นๆ
รายชื่อ 2 ประชาชนมีอาชีพรับจ้างทั่วไปมีแนวโน้มจะเลือกพรรคประชาธิปัตย์
น้อยที่สุด เมื่อเทียบกับอาชีพอื่นๆ
3. ประชาชนที่ไม่ได้ท างานหรือเป็นแม่บ้านจะเลือกผู้สมัครจากพรรคอื่น ๆ
มากที่สุดเมื่อเทียบกับอาชีพอื่นๆ
พฤติกรรมการ1.ร้อยละผู้ที่ประกอบอาชีพเกษตรและประมงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับร้อย 1.ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างอาชีพกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
เลือกตั้ง ละของบัตรเสีย และสัมพันธ์ทางลบกับร้อยละที่ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2. ไม่สามารถศึกษาความสัมพันธ์กับ Vote No ได้เพราะไม่มีข้อมูล
2.ร้อยละผู้บัญญัติกฎหมายข้าราชการอาวุโสและผู้จัดการ, ร้อยละผู้ประกอบ 3. ไม่สามารถศึกษาความสัมพันธ์กับการท าบัตรเสียได้เพราะไม่มีข้อมูล
วิชาชีพด้านต่าง ๆ, ร้อยละช่างเทคนิคสาขาต่าง ๆ และประกอบวิชาชีพอื่น,