Page 199 - kpi19903
P. 199

171



               แบบบัญชีรายชื่อในปี 2554 (r=.10) ดังแสดงในตารางที่ 10.16 ซึ่งเขตเลือกตั้งที่มีการศึกษาต่ าโดยเฉพาะบริเวณ
               ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวโน้มจะเลือกพรรคเพื่อไทย แต่พรรคเพื่อไทยก็ยังคงไม่ได้รับคะแนน

               เสียงจากเขตเลือกตั้งในภาคใต้ แม้ว่าจะมีเขตเลือกตั้งที่มีระดับการศึกษาต่ าก็ตาม


               ตำรำงที่ 10.16 ความสัมพันธ์ระหว่างระหว่างระดับการศึกษากับผลการเลือกตั้งในระดับพื้นที่ ในระบบบัญชีรายชื่อ

                                                        ไม่พิจำรณำควำมสัมพันธ์เชิงพื้นที่ พิจำรณำควำมสัมพันธ์เชิงพื้นที่

                ผลกำรเลือกตั้ง ส.ส. แบบบัญชีรำยชื่อปี 2554
                                                            เพื่อไทย                    เพื่อไทย
                                                                   ประชาธิปัตย์   ภูมิใจไทย   ชาติไทยพัฒนา   ประชาธิปัตย์   ภูมิใจไทย   ชาติไทยพัฒนา



                ไม่เคยเข้าโรงเรียน                       - . 14**  .07   .04   .06    .00   - . 01  .02  . -04
                ก่อนประถมศึกษา                            - . 02   .02   .14*  .03    .04   - . 02  -. 02  .03

                ประถมศึกษา                               .35**  -. 33**  .11*  .14**  .10**  -. 05*  .01  . -01
                มัธยมต้น                                 - . 19**  .18**  -. 13*  -. 04   .01   .00  . -07  .04
                มัธยมปลาย                                - . 19**  .17**  . -07  . -09  -. 05*  .01  .04  .01

                ปวส., อนุปริญญา                          - . 29**  .32**  -. 12*  -. 13*  -. 09**  .06**  .02  .04
                ปริญญาตรี                                - . 15**  .16**  . -09  -. 13*  -. 08**  .04  . -01  -. 01
                ปริญญาโท                                  .00    .00    - . 07  . -09  -. 07**  .03*  -. 02  .02

                ปริญญาเอก                                 - . 07   .08   - . 04  . -02  . -02  .03*  -. 02  -. 05
               หมายเหตุ  ** :p<0.01, *p<0.05


               10.5 กำรเปรียบเทียบปัจจัยทำงสังคมและเศรษฐกิจกับผลกำรเลือกตั้งในระดับบุคคลและระดับเขตเลือกตั้ง


                       ผลการเปรียบเทียบปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจกับผลการเลือกตั้งในระดับบุคคลและระดับเขตเลือกตั้ง

               แสดงในตารางที่ 10.17 เป็นการประมวลสรุปผลการวิจัยจากบทที่ 6 การวิเคราะห์ระดับบุคคลเกี่ยวกับการไปใช้

               สิทธิ์เลือกตั้ง บทที่ 9 การวิเคราะห์ระดับบุคคล และบทที่ 10 การวิเคราะห์ระดับเขต ทั้งนี้ผลการวิเคราะห์ระดับ
               บุคคลและระดับเขตเลือกตั้งไม่จ าเป็นต้องสอดคล้องกันแต่อย่างใด เช่นผลการวิเคราะห์พบว่าประชาชนที่ยากจน

               จะเลือกพรรคเดโมแครต และประชาชนที่รวยจะเลือกพรรครีพับลิกัน ในขณะที่รัฐที่ร่ ารวยจะเลือกพรรคเดโมแครต

               และรัฐที่ยากจนกว่าจะเลือกพรรครีพับลิกัน ทั้งนี้ได้พอจะอธิบายได้ว่าความแปรปรวนของรายได้ในรัฐนั้นมีมากกว่า
               (A Gelman, 2010) และน่าจะมีตัวแปรอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเช่นความเป็นภูมิภาคนิยม
                                                                                          34



               34  ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก “รายได้และภูมิภาคนิยมในการเลือกตั้งของไทยและสหรัฐอเมริกา”
               https://mgronline.com/daily/detail/9600000096336
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204