Page 200 - kpi19903
P. 200
172
ตำรำงที่ 10.17 ผลการเปรียบเทียบปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจกับผลการเลือกตั้งในระดับบุคคลและระดับเขตเลือกตั้ง
สถานภาพทาง ตัวแปรตาม ผลการวิเคราะห์ระดับเขตเลือกตั้ง ผลการวิเคราะห์ระดับบุคคล
สังคมเศรษฐกิจ
รายได้ การเลือกตั้ง 1.ค่าเฉลี่ยรายได้สัมพันธ์ทางลบกับร้อยละที่เลือกพรรคภูมิใจไทย และ ไม่พบความแตกต่างของรายได้ระหว่างประชาชนที่เลือกพรรคเพื่อไทย
แบบแบ่งเขต พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคประชาธิปัตย์ และพรรคอื่นๆ
2.ค่าเฉลี่ยรายจ่ายสัมพันธ์ทางลบกับร้อยละที่จะเลือกพรรคภูมิใจไทยและ
พรรคชาติไทยพัฒนา
3.สัดส่วนคนจนสัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละที่เลือกพรรคภูมิใจไทย
4.ค่าเฉลี่ยรายได้ และค่าเฉลี่ยค่าใช้จ่ายสัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละที่จะเลือก
พรรคประชาธิปัตย์
การเลือกตั้ง 1.เขตเลือกตั้งที่มีค่าเฉลี่ยรายได้สูง และมีค่าเฉลี่ยรายจ่ายสูงมีแนวโน้มที่จะ ไม่พบความแตกต่างของรายได้ระหว่างประชาชนที่เลือกพรรคเพื่อไทย
แบบบัญชี สนับสนุนพรรคประชาธิปัตย์ พรรคประชาธิปัตย์ และพรรคอื่นๆ
รายชื่อ 2.มีสัดส่วนคนจนสูงมีแนวโน้มจะเลือกพรรคภูมิใจไทย
3.มีสัมประสิทธิ์ความไม่เท่าเทียมของรายจ่ายสูงมีแนวโน้มจะเลือกพรรคภูมิใจ
ไทย
พฤติกรรมการ1.ค่าเฉลี่ยรายได้และค่าเฉลี่ยรายจ่ายสูงมีแนวโน้มที่จะพบบัตรไม่ประสงค์ 1.ประชาชนที่มีรายได้สูงมีแนวโน้มที่จะไม่ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
เลือกตั้ง ลงคะแนน (Vote No) และการไม่ใช้สิทธิ์เลือกตั้งสูง (No Vote) สูงแต่มี 2. ไม่สามารถศึกษาความสัมพันธ์กับ Vote No ได้เพราะไม่มีข้อมูล
แนวโน้มที่จะมีร้อยละของบัตรเสียต่ า
2.สัดส่วนคนจนสูงมีแนวโน้มที่จะมีบัตรเสียสูง 3.ไม่สามารถศึกษาความสัมพันธ์กับการท าบัตรเสียได้เพราะไม่มีข้อมูล