Page 206 - kpi19903
P. 206

175



                                             4. ร้อยละของสถานภาพการท างานเป็นพนักงานบริษัทเอกชนในแต่ละเขต
                                             เลือกตั้งสัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละของผู้ที่ไม่ใช้สิทธิเลือกตั้ง (No Vote)
                      ตำรำงที่ 10.17 ผลการเปรียบเทียบปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจกับผลการเลือกตั้งในระดับบุคคลและระดับเขตเลือกตั้ง

                       สถานภาพทาง ตัวแปรตาม                 ผลการวิเคราะห์ระดับเขตเลือกตั้ง                        ผลการวิเคราะห์ระดับบุคคล
                       สังคมเศรษฐกิจ

                         การศึกษา   การเลือกตั้ง 1. ร้อยละของการศึกษาระดับประถมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละที่  1. ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างระดับการศึกษากับพรรคการเมืองที่เลือก
                                   แบบแบ่งเขต เลือกพรรคเพื่อไทยแบบแบ่งเขต แต่ร้อยละของการศึกษาระดับมัธยมปลาย,
                                             ปวส. หรืออนุปริญญา, ปริญญาตรี, และปริญญาโทสัมพันธ์ทางลบกันร้อยละที่
                                             เลือก พรรคเพื่อไทยแบบแบ่งเขต
                                             2. แทบจะไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างร้อยละของระดับการศึกษาของ

                                             ประชาชนกับร้อยละที่เลือก ส.ส. พรรคประชาธิปัตย์แบบแบ่งเขต
                                             3. ร้อยละของผู้ส าเร็จการศึกษาระดับมัธยมต้นมีความสัมพันธ์ทางบวกกับร้อย
                                             ละที่เลือก ส.ส. พรรคภูมิใจไทยแบบแบ่งเขต

                                   การเลือกตั้ง 1. แทบไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างร้อยละของระดับการศึกษาของประชาชน 1. พบว่าประชาชนที่ไม่เคยเรียนหนังสือมีแนวโน้มจะเลือกพรรคการเมือง
                                    แบบบัญชี ในแต่ละเขตเลือกตั้งและผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ   อื่นๆ
                                     รายชื่อ
                                   พฤติกรรมการ1.ร้อยละของระดับการศึกษาที่ไม่เคยเข้าโรงเรียนและจบประถมสัมพันธ์  1. ประชาชนที่มีระดับการศึกษาสูงมีแนวโน้มที่จะไม่ไปเลือกตั้ง

                                     เลือกตั้ง  ทางบวกกับร้อยละบัตรเสีย  แต่ร้อยละของระดับการศึกษามัธยมปลาย, จบ 2. ไม่สามารถศึกษาความสัมพันธ์กับ Vote No ได้เพราะไม่มีข้อมูล
                                             ปวส. หรือ อนุปริญญา, จบปริญญาตรี, และจบปริญญาโท สัมพันธ์ทางลบกับ 3. ไม่สามารถศึกษาความสัมพันธ์กับการท าบัตรเสียได้เพราะไม่มีข้อมูล
                                             ร้อยละของบัตรเสีย

                                             2. ร้อยละของระดับการศึกษาก่อนประถมศึกษาและจบประถมศึกษาสัมพันธ์
                                             ทางลบกับร้อยละของ Vote No ในขณะที่ร้อยละของระดับการศึกษามัธยม
                                             ต้น, จบมัธยมปลาย, จบปวส. หรือ อนุปริญญา, จบปริญญาตรี, และจบ
                                             ปริญญาโทสัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละของ Vote No
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211