Page 191 - kpi19903
P. 191
163
รูปที่ 10.10 แผนภาพการกระจายระหว่างร้อยละของสถานภาพการท างานเป็นพนักงานของรัฐกับผลการเลือกตั้ง
พรรคชาติไทยพัฒนาแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ปี 2554
10.3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างร้อยละของสถานภาพการท้างานของประชาชนในแต่ละเขตเลือกตั้งและ
พฤติกรรมการใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ส.ส. ปี 2554
ผลการวิเคราะห์สหสัมพันธ์โดยพิจารณาความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ด้วยดังแสดงในตารางที่ 10.11 พบว่า
1) ร้อยละของประชาชนที่ท างานส่วนตัวและท างานให้แก่ครอบครัวโดยไม่ได้รับค่าจ้าง (ซึ่งน่าจะเป็นงาน
กลุ่มที่เป็นการว่างงานแฝงได้ง่าย หรือเป็นกลุ่มที่ไม่ได้ท างานประจ าที่ไม่จ าเป็นต้องมีวุฒิการศึกษาเป็นส่วนใหญ่
หรืออาจจะอยู่ในชนบทเช่นในภาคเกษตรกรรม) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละของบัตรเสียในแต่ละเขต
เลือกตั้ง (r=.23 & .10 ตามล าดับ) และสัมพันธ์ทางลบกับการไม่ประสงค์จะลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (r=-.34 & -
.25 ตามล าดับ)
2) ร้อยละของสถานภาพการท างานเป็นพนักงานของรัฐ, พนักงานรัฐวิสาหกิจ, พนักงานบริษัทเอกชน,
และแม่บ้าน ในแต่ละเขตเลือกตั้ง (ซึ่งน่าจะเป็นกลุ่มคนในเขตเมืองหรือเขตเทศบาล และเป็นกลุ่มที่ท างานประจ าที่
ต้องมีวุฒิการศึกษาในการสมัครงาน ยกเว้นแม่บ้าน) สัมพันธ์ทางลบกับร้อยละของบัตรเสียในแต่ละเขตเลือกตั้ง
(r=-.11, -.11, -.18, & -.12 ตามล าดับ) ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่เขตเลือกตั้งที่มีคนท างานประจ าค่อนข้างมั่นคง
หรือมีความเป็นสังคมเมืองสูงมีแนวโน้มที่จะมีร้อยละของบัตรเสียน้อยกว่า
3) ร้อยละของสถานภาพการท างานเป็นพนักงานของรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน และ
แม่บ้าน ในแต่ละเขตเลือกตั้ง (ซึ่งน่าจะเป็นกลุ่มคนในเขตเมืองหรือเขตเทศบาล และเป็นกลุ่มที่ท างานประจ าที่ต้อง
มีวุฒิการศึกษาในการสมัครงาน ยกเว้นแม่บ้าน) สัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละของผู้ที่ไม่ประสงค์จะลงคะแนนใช้สิทธิ
เลือกตั้ง (Vote No) ในแต่ละเขตเลือกตั้ง (r=.19, .18, .41, & .25 ตามล าดับ) ซึ่งน่าสังเกตว่าในเขตเลือกตั้งที่มี