Page 107 - kpi19815
P. 107

106                                                                                                               การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  107


           ผลการเลือกตั้งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตัวผู้ถูกร้องไม่ใช่วัตถุแห่งคดี แต่                          1.3.3 การลงมติ

           เมื่อผู้ถูกร้องถึงแก่ความตายก่อนการวินิจฉัยคดี ย่อมไม่มีความจำาเป็นที่                          องค์ประชุมของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญในคดีเลือกตั้งจะต้อง
           คณะตุลาการจะต้องดำาเนินกระบวนพิจารณาต่อ เนื่องจากเมื่อสมาชิก                           ประกอบไปด้วยตุลาการอย่างน้อย 7 คน (จากจำานวน 9 คน) หมายความว่า
           สภาผู้แทนราษฎรถึงแก่กรรมก็จะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง                     ตุลาการจำานวน 3 คนจากองค์คณะที่ทำาหน้าที่รับผิดชอบสำานวนและ

           ดังกล่าวแทนที่ผู้ตายอย่างแน่นอน
                                                                                                  แสวงหาข้อเท็จจริงแห่งคดีสามารถร่วมประชุมและลงมติได้  ส่วน
                                                                                                                                                        106
                   1.3.2 การพิจารณาคดีโดยลับ  104                                                 ผู้รับผิดชอบสำานวนที่ได้รับแต่งตั้งจากประธานคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ

                                                                                                  เพื่อทำาหน้าที่รับผิดชอบสำานวนและแสวงหาข้อเท็จจริงแห่งคดีร่วมกับ
                   โดยปกติการพิจารณาคดีของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญจะเป็นไป
           โดยลับเสมอ (non-publicité des séances) กล่าวคือ บุคคลทั่วไปรวมทั้ง                     องค์คณะนั้นไม่มีอำานาจในการลงมติแต่อย่างใด ทั้งนี้ ในกรณีที่
           คู่ความในคดีไม่สามารถเข้าฟังการพิจารณาคดีของคณะตุลาการได้                              คะแนนเสียงของตุลาการมีจำานวนเท่ากัน ให้ประธานคณะตุลาการ
                                                                      105
                                                                                                                                   107
           เนื่องจากคณะตุลาการรัฐธรรมนูญมีความเห็นมาโดยตลอดว่าหลัก                                ศาลรัฐธรรมนูญลงคะแนนเสียงชี้ขาด
           การพิจารณาคดีโดยเปิดเผยนั้นใช้มุ่งเน้นบังคับใช้กับคดีแพ่งและคดี                                1.3.4 เนื้อหาและรูปแบบของคำาวินิจฉัย

           อาญาเป็นหลัก
                                                                                                           ผู้รับผิดชอบสำานวนจะทำาการร่างคำาวินิจฉัยตามที่ได้มีการลง
                   อย่างไรก็ตาม คำาวินิจฉัยคณะตุลาการรัฐธรรมนูญวันที่ 28                          มติในที่ประชุมคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ  โดยคำาวินิจฉัยต้องประกอบ
                                                                                                                                     108
           มิถุนายน 1995 ได้วางหลักการอันเป็นก้าวสำาคัญก้าวหนึ่งของการ                            ไปด้วยบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้อสังเกตและคำาให้การของ
           พิจารณาคดีของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญโดยการอนุญาตให้ผู้ร้องและ                             คู่ความและพยาน รวมทั้งเหตุผลของคำาวินิจฉัย  นอกจากนี้จะต้องมี
                                                                                                                                           109
           ผู้ถูกร้องมีสิทธิเสนอคำาขอเข้าร่วมฟังการพิจารณาของคณะตุลาการ                           การระบุรายชื่อของตุลาการที่ทำาหน้าที่วินิจฉัยคำาร้อง พร้อมลายมือชื่อ

           รัฐธรรมนูญได้เฉพาะในคดีเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิก                          ของประธานคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ เลขาธิการสำานักงานคณะตุลาการ
           วุฒิสภา ทั้งนี้ หลักการพิจารณาโดยลับของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ                            รัฐธรรมนูญ และผู้รับผิดชอบสำานวน 110

           ก็ยังคงได้รับการรับรองอยู่เช่นเดิม เพียงแต่มีการเปิดโอกาสให้คู่ความ
           สามารถร้องขอเข้าร่วมฟังการพิจารณาได้เท่านั้น (ซึ่งคณะตุลาการ
           จะอนุญาตหรือไม่ก็ได้) ส่วนบุคคลทั่วไปไม่อาจเข้าร่วมการพิจารณา

           ได้ในทุกกรณี                                                                           106  MALIGNER, B. Ibid. pp. 752 - 753
                                                                                                  107  มาตรา 56 วรรคสาม แห่งรัฐธรรมนูญ
                                                                                                  108  มาตรา 17 วรรคสาม ข้อบังคับว่าด้วยการพิจารณาคดีของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
           104  MALIGNER, B. Ibid. pp. 751 – 752                                                  109  มาตรา 18 ข้อบังคับว่าด้วยการพิจารณาคดีของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
           105  มาตรา 17 วรรคสอง ข้อบังคับว่าด้วยการพิจารณาคดีของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ             110  มาตรา 18 ข้อบังคับว่าด้วยการพิจารณาคดีของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112