Page 230 - kpi17073
P. 230
การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16 229
ที่ รายชื่อ ส.ส. ที่ตั้งกระทูถามในสภามากที่สุด 5 อันดับแรก
ตารางที่ 10 รายชื่อ ส.ส. ที่ตั้งกระทู้ถามในสภามากที่สุด 5 อันดับแรก
น น ทู น น ทู ทู ทู
่ น ม ่ น ม
เพ
นายจิรายุหวงทรัพย เพื่อไทย ื่อไทย 14 14
น
นายวรงค เดชกิจวิกรม ายวรงค เดชกิจวิกรม ประชา ิป ตย ประชา ิป ตย 10 10
ประชา ิป ตย
นายวัชระ เพชรทอง
นายวัชระ เพชรทอง ประชา ิป ตย 7 7
นางมนพร เจริญศรี
เพื่อไทย
นางมนพร เจริญศรี เพื่อไทย 6 6
นายวิวัฒนชัย โหตระไวศยะ ายวิวัฒนชัย โหตระไวศยะ
น เพ 6 6
เพื่อไทย ื่อไทย
ตารางที่ 10 นําเสนอรายชื่อของ ส.ส. ที่ตั้งกระทูถามในสภาสูงสุด 5 อันดับแรก ึ่งก็พบวา การ
ตารางที่ 10 นำเสนอรายชื่อของ ส.ส. ที่ตั้งกระทู้ถามในสภาสูงสุด 5 อันดับแรก ซึ่งก็พบว่า
ตั้งกระทูถามในสภานั้น ส.ส. จากพรรคการเมืองขนาดใหญทั้งจาก ายคานและ ายรัฐบาลเปนกลุมที่
การตั้งกระทู้ถามในสภานั้น ส.ส. จากพรรคการเมืองขนาดใหญ่ทั้งจากฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาล
สามารถตั้งกระทูถามไดมากกวา ส.ส. จากพรรคอื่นๆ ทั้งนี้ ก็เนื่องมาจากขอกําหนดในการประชุมสภา
เป็นกลุ่มที่สามารถตั้งกระทู้ถามได้มากกว่า ส.ส. จากพรรคอื่นๆ ทั้งนี้ ก็เนื่องมาจากข้อกำหนดใน
และการกําหนดโควตา
การประชุมสภาและการกำหนดโควตา
ม ที่
โหวตตามพรรค: ข้อบกพร่องที่ 3
ขอมูลเชิงประจักษที่จะนําเสนอในยอหนาถัดไปจะแสดงขอมูลการลงมติของ ส.ส. รายบุคคล
ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่จะนำเสนอในย่อหน้าถัดไปจะแสดงข้อมูลการลงมติของ ส.ส. รายบุคคล
โดยเปนการสรุปใหเห็นสถิติของการลงมติที่มีความ สอดคลอง หรือ สวนทาง กับทิศทางการลงมติ
โดยเป็นการสรุปให้เห็นสถิติของการลงมติที่มีความ “สอดคล้อง” หรือ “สวนทาง” กับทิศทาง
สวนใหญของพรรค ึ่งจะไดเห็นวากวาครึ่งหนึ่งของการลงมติ ส.ส. (ทั้งชุดที่ 23 และ ชุดที่ 24) ไดลงมติ
การลงมติส่วนใหญ่ของพรรค ซึ่งจะได้เห็นว่ากว่าครึ่งหนึ่งของการลงมติ ส.ส. (ทั้งชุดที่ 23 และ
ในรูปแบบที่ สอดคลอง กับพรรค แมมุมหนึ่งของขอมูลนี้จะวิเคราะหไดวา แบบแผนการลงมติของ ส.ส.
ชุดที่ 24) ได้ลงมติในรูปแบบที่ “สอดคล้อง” กับพรรค แม้มุมหนึ่งของข้อมูลนี้จะวิเคราะห์ได้ว่า
ที่เห็นนี้เปนไปตามท ษฎีของการลงมติที่มีความเปนวินัยในพรรคสูง แตในอีกมุมหนึ่งก็สามารถมองวา
แบบแผนการลงมติของ ส.ส. ที่เห็นนี้เป็นไปตามทฤษฎีของการลงมติที่มีความเป็นวินัยในพรรคสูง
เปนความบกพรองและออนประสิท ิภาพของ ส.ส. ในการตระหนักถึงความตองการของประชาชนผาน
แต่ในอีกมุมหนึ่งก็สามารถมองว่าเป็นความบกพร่องและอ่อนประสิทธิภาพของ ส.ส. ในการ
การลงมติไดอีกเชนกัน
ตระหนักถึงความต้องการของประชาชนผ่านการลงมติได้อีกเช่นกัน
ร ป การ งมติ ร งพิจารณาตาง ง . . 2
สร ป ลการล นเร พ าร า า ส ส
ตารางที่ 11 แสดงผลการลงมติตามเรื่องพิจารณาต่างๆ ของ ส.ส. ชุดที่ 23 (ข้อมูลชุดที่ 1
ตารางที่ 11 แสดงผลการลงมติตามเรื่องพิจารณาตางๆ ของ ส.ส. ชุดที่ 23 (ขอมูลชุดที่ 1 พรรค
พรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล) และ ตารางที่ 12 แสดงผลการลงมติตามเรื่อง
พลังประชาชนเปนแกนนําจัดตั้งรัฐบาล) และ ตารางที่ 12 แสดงผลการลงมติตามเรื่องพิจารณาตางๆ
พิจารณาต่างๆ ของ ส.ส. ชุดที่ 23 (ข้อมูลชุดที่ 2 พรรคประชาธิปัตย์เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล)
ของ ส.ส. ชุดที่ 23 (ขอมูลชุดที่ 2 พรรคประชา ิป ตยเปนแกนนําจัดตั้งรัฐบาล) โดยเปนการสรุปเปน
โดยเป็นการสรุปเป็นรายบุคคลตามรูปแบบการลงมติ 4 รูปแบบ คือ
รายบุคคลตามรูปแบบการลงมติ 4 รูปแบบ คือ
๏ กลุ่ม A หมายถึง ผู้ที่มีผลการลงมติไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกับพรรค ร้อยละ 0 – 25
กลุม หมายถึง ผูที่มีผลการลงมติ ม ในทิศทางเดียวกับพรรค รอยละ 0 – 25
กลุม หมายถึง ผูที่มีผลการลงมติ ม ในทิศทางเดียวกับพรรค รอยละ 26 – 50
๏ กลุ่ม B หมายถึง ผู้ที่มีผลการลงมติไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกับพรรค ร้อยละ 26 – 50
กลุม หมายถึง ผูที่มีผลการลงมติ ม ในทิศทางเดียวกับพรรค รอยละ 51 – 75
๏ กลุ่ม C หมายถึง ผู้ที่มีผลการลงมติไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกับพรรค ร้อยละ 51 – 75
กลุม หมายถึง ผูที่มีผลการลงมติ ม ในทิศทางเดียวกับพรรค รอยละ 76 - 100
๏ กลุ่ม D หมายถึง ผู้ที่มีผลการลงมติไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกับพรรค ร้อยละ 76 - 100
การประชุมกลุ่มย่อยที่ 2
12