Page 95 - kpi15860
P. 95
5
ได้แก่ การป้องกันและบรรเทาอัคคีภัย อุทกภัย หรือวาตภัย ภัยแล้ง ภัยที่เกิดเหตุสารเคมีและวัตถุ ใหม่ๆ ให้ทันต่อเหตุการณ์สาธารณภัยในปัจจุบัน อีกทั้งสามารถช่วยเหลือ
อันตรายรั่วไหล รวมถึงสาธารณภัยอื่นๆ โดยจัดกลุ่มพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีพื้นที่ ผู้ประสบภัยได้ถูกต้องตามหลักวิชาการมากยิ่งขึ้น
บริการรวม 89.58 ตารางกิโลเมตร และจัดตั้งเป็นศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัยฯ = การฝึกซ้อมเจ้าหน้าที่ศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัย เพื่อเป็นการ
มีระบบการบริหารและการจัดการที่ชัดเจน พัฒนาบุคลากรขององค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีทักษะและพื้นฐานที่จำเป็น
ต้องใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ มีความชำนาญในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์
การดำเนินงานของเครือข่ายฯ เป็นที่ประจักษ์ต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น จึงมี
องค์การบริหารส่วนตำบลขอนแก่น ซึ่งมีพื้นที่ใกล้เคียงกัน ได้ขอเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิก รวมเป็น ต่างๆ ที่จำเป็น ทำให้เกิดการเรียนรู้ ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ และ
การทำงานเป็นทีม อันจะสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ทันท่วงที
5 แห่ง และได้มีการลงนาม “บันทึกข้อตกลงเพื่อจัดทำบริการสาธารณะด้านบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ZONE 01 จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2554” ทำให้มีพื้นที่ = การตรวจประเมินความพร้อมด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยมี
การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ
บริการรวมทั้งสิ้น 114.58 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม 20 ชุมชน 71 หมู่บ้าน
เอกชน และตัวแทนประชาชน มีการติดตามสรุปรายงานผล พร้อมทั้ง
ศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลเมืองร้อยเอ็ดฯ มีการดำเนินงานของ หาแนวทางแก้ไข ให้มีประสิทธิภาพ มาตรฐานการบริการด้านการป้องกัน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเครือข่ายร่วมกัน ดังนี้ บรรเทาสาธารณภัย
= การติดตามและประเมินผลการการดำเนินงานของศูนย์ความร่วมมือฯ โดย
1. จัดทำแผนการดำเนินงาน/แผนปฏิบัติการของศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัยฯ
ประจำปีงบประมาณ 2556 เพื่อเป็นตัวกำหนดขอบเขตและรายละเอียดกิจกรรมที่ กำหนดให้มีการประชุมคณะทำงานศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัยฯ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคีสมาชิกเห็นพ้องต้องกันว่าจะต้องร่วมกันดำเนินการ เป็นประจำทุกเดือน เป็นการประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับงานป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 5 แห่ง มีการสรุปและ
2. ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่ง เพื่อใช้ใน ประเมินกิจรรม/โครงการที่ได้ดำเนินการ รวมถึงการวางแผนการดำเนินงาน
การดำเนินงานตามแผนการการดำเนินงานของศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัยฯ โดยเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งเกิดการมีส่วนร่วม มีการ
ประจำปีงบประมาณ 2556 หารือแนวทางการปฏิบัติงาน เสนอความคิดเห็น ระดมความคิดเพื่อจัดทำ
โครงการต่างๆ การจัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปี รวมถึงการเสนอข้อเสนอ
3. จัดหาวัสดุและครุภัณฑ์ประจำศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัยฯ
แนะ ปัญหาและอุปสรรคเพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารศูนย์ความ
4. ดำเนินงานตาม แผนโครงการ/กิจกรรม เช่น ร่วมมือฯ
= โครงการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ประจำ = การประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัยฯ
ศูนย์ความร่วมมือ สมาชิก อปพร. และประชาชนที่ร่วมฝึกซ้อม เกิดความรู้ ทุก 4 เดือน เพื่อการวินิจฉัยลงมติในเรื่องที่สำคัญ ตลอดจนการมอบนโยบาย
ความชำนาญ ในการปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เมื่อเกิดเหตุการณ์จริง และ และการติดตามและประเมินผลเพื่อแก้ไขปัญหาการป้องกันและบรรเทา
เป็นการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างมีประสิทธิภาพ สาธารณภัยฯ และพัฒนาการดำเนินงานร่วมกันให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
= โครงการฝึกอบรม ทบทวน อปพร. เพื่อให้สมาชิกอาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่าย = การประชุมใหญ่ประจำปี เพื่อสรุปผลการดำเนินงานของศูนย์ความร่วมมือฯ
พลเรือนที่ผ่านการฝึกอบรมมาแล้ว ได้รับความรู้ นโยบายและประสบการณ์ ในรอบปีที่ผ่านมา ได้แก่ การสรุปผลการดำเนินงานด้านงบการเงิน สรุปผล
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57