Page 92 - kpi15860
P. 92

0                                                                          1


          ที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วและไม่มีแบบแผน  เกิดปัญหาการรุกล้ำคูเมือง – กำแพงเมือง ก่อให้เกิด
          ความเสียหายแก่โบราณสถาน และเกิดชุมชนแออัดที่มีความหนาแน่นทรุดโทรมและขาดการพัฒนา
          เกิดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ และปัญหาความยากจนที่รุนแรงขึ้น รวมทั้งความไม่เท่า
          เทียมในการเข้าถึงบริการพื้นฐาน ทำให้ประชาชนที่ยากจนที่อพยพเข้าเมืองไม่สามารถมีที่อยู่อาศัยที่

          มั่นคงและถูกต้องตามกฎหมาย โอกาสสร้างความมั่นคงในการตั้งถิ่นฐานและการมีชีวิตของ
          ครอบครัวเป็นไปตามยถากรรม ทำให้เกิดปัญหาคุณภาพชีวิตต่ำ

                เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดได้ร่วมกับการเคหะแห่งชาติ สหกรณ์จังหวัดร้อยเอ็ด สถาบันพัฒนา
          องค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) และธนารักษ์พื้นที่ร้อยเอ็ด จัดตั้งโครงการย้ายชุมชน/จัดหาที่อยู่
          ใหม่ให้ผู้บุกรุกคูเมือง-กำแพงเมืองร้อยเอ็ด และที่สาธารณะ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนใน

 เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด  ยึดหลักการทำงานแบบมีส่วนร่วมทั้งจากเจ้าหน้าที่ภายในเทศบาล   ชุมชนให้ดีขึ้น  และปรับคืนสภาพคูเมือง – กำแพงเมืองซึ่งเป็นโบราณสถานที่สำคัญของจังหวัด
 รวมถึงประชาชนและหน่วยงานในพื้นที่ให้เกิดการพัฒนาร่วมกัน ทำให้เกิดภาคีเครือข่ายการทำงาน  ร้อยเอ็ดที่เสื่อมโทรมให้กลับมาเป็นโบราณสถานและแหล่งท่องเที่ยว รวมถึงเป็นพื้นที่สีเขียวในเขต

 จากทุกภาคส่วน ทุกระดับ ที่ร่วมกันคิด ร่วมกันขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาชุมชน  เทศบาล
 ท้องถิ่น ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  ทำให้ปัจจุบันภาคีเครือข่ายใน  ในการดำเนินโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมือง – กำแพงเมือง เทศบาลดำเนินงานที่ท้าทาย
 พื้นที่เขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ดมีความเข้มแข็งและหลากหลาย เช่น เครือข่ายสุขภาพ เครือข่าย  อย่างยิ่งคือ การย้ายชุมชน ได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 – 2539 คณะดำเนินงาน
 ประชาชน เครือข่ายกลุ่มอาชีพ เครือข่ายการศึกษา เครือข่ายสวัสดิการ  ทุกเครือข่ายมีสมาชิกจาก  ได้พยายามที่จะย้ายประชาชนผู้บุกรุกคูเมือง–กำแพงเมืองไปอยู่ในพื้นที่แห่งใหม่แต่ไม่ได้รับการ
 ภาครัฐ  เอกชนและประชาสังคม  มีการกำหนดโครงสร้างและการบริหารจัดการของเครือข่ายที่  ยอมรับจากประชาชนผู้บุกรุก โดยมีเหตุผลว่าที่ดินที่จะให้ไปอยู่ไกลเกินไป ไม่สามารถเข้ามา
 ชัดเจน  อีกทั้งยังมีการประสานเครือข่ายสามารถช่วยแก้ไขและพัฒนาชุมชนท้องถิ่นได้อย่างเป็น  ประกอบอาชีพในเมืองได้อย่างสะดวก ทำให้ต้องระงับการดำเนินการไป

 องค์รวมและมีความเป็นเอกภาพ อันจะนำไปสู่ความอยู่ดีมีสุขของประชาชนอย่างยั่งยืน
                ต่อมา เมื่อปี พ.ศ. 2542 ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานแก้ไขปัญหาการบุกรุกคูเมือง –
 สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ      กำแพงเมืองร้อยเอ็ด ขึ้น และทำการสำรวจข้อมูลผู้บุกรุกซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 250 ครัวเรือน โดยได้
 ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ได้แก่   จัดประชาคมเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้แสดงความคิดเห็นร่วมกัน  จากนั้นคณะอนุกรรมการ

 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมือง – กำแพงเมือง เพื่อคุณภาพชีวิต   จัดหาพื้นที่รองรับประชาชนได้ดำเนินการจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสมที่จะรองรับประชาชนผู้บุกรุก คือ
 ชาวร้อยเอ็ด   บริเวณโรงต้มสุราเก่า ซึ่งเป็นที่ราชพัสดุ  พื้นที่ 23 ไร่เศษ อยู่เขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด โดยพื้นที่
          นั้นมีที่ตั้งอยู่ไม่ไกลเมือง ประชาชนผู้ย้ายไปสามารถเข้ามาประกอบอาชีพในเมืองได้สะดวก  และ
 จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ของภาค    ขนาดที่ดินมีความเหมาะสมและเพียงพอกับจำนวนผู้บุกรุก  และสามารถดำเนินการขยายระบบ
 ตะวันออกเฉียงเหนือมาแต่โบราณ ลักษณะที่คงเหลือและมองเห็นได้จนถึงปัจจุบัน คือ แนว     สาธารณูปโภค คือ ไฟฟ้าและน้ำประปาได้ทันที

 คลองน้ำรอบเมืองและกำแพงเมืองรอบตัวเมือง แต่เนื่องจากปัจจุบันเมืองมีความเจริญขึ้น ทำให้
 ประชาชนในชนบทซึ่งมีฐานะยากจนอพยพเข้ามาหางานทำในเมืองมากขึ้น  เกิดการสร้างชุมชนเมือง  ในพื้นที่ใหม่ได้มีการจัดระบบการบริหารที่อยู่อาศัย โดยที่ดินทั้งหมด 23 ไร่เศษ แบ่งออก
          เป็นพื้นที่ปลูกสร้างบ้าน 250 แปลงๆ ละ 21 ตารางวา  ส่วนที่เหลือจัดให้เป็นศูนย์บริการ

 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57                               รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97