Page 93 - kpi15860
P. 93

2


        สาธารณสุขชุมชน อาคารเอนกประสงค์ สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ ที่โล่งสาธารณประโยชน์ และ            5.  พื้นที่ริมคลองคูเมือง – กำแพงเมืองที่เป็นแหล่งเสื่อมโทรมในเขตเทศบาลเมือง
        บ่อบำบัดน้ำเสีย                                                                               ร้อยเอ็ดมีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น มีพื้นที่สีเขียวเพิ่มมากขึ้นช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน
                                                                                                      ประชาชนทั่วไปได้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ  ทำให้จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นเมืองน่าอยู่ น่า
              การจัดการด้านการปกครองได้จัดตั้งเป็นชุมชนใหม่ของเทศบาลเมืองร้อยเอ็ดอีกชุมชนหนึ่ง

        มีการบริหารภายในโดยคณะกรรมการชุมชน ทำหน้าที่บริหารการเงินเพื่อสร้าง – ชำระค่าปลูกสร้าง        อาศัย ประชาชนมีความสุข
        บ้าน ในรูปแบบสหกรณ์ เป็นผู้ทำนิติกรรมสัญญากับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนหรือแหล่งเงินทุน          6.  สร้างเครือข่าย ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชน ในการ
        เสริมแหล่งอื่นๆ ในการกู้และชำระเงิน ประชาชนผู้อยู่อาศัยมีสิทธิครอบครองและตกทอดสู่             ปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมือง – กำแพงเมือง ให้มีความสวยงาม เพื่อคุณภาพชีวิตที่ขึ้นของ
        บุตรหลานได้ แต่ไม่สามารถขายสิทธิการครอบครอง                                                   ชาวร้อยเอ็ด

              การดำเนินงานโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมือง – กำแพงเมืองก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อ       ในปัจจุบันโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมือง – กำแพงเมืองอยูมีสมาชิกครัวเรือนที่เข้าไป

        ประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดหลายประการ ได้แก่                                  ปลูกสร้างที่อยู่อาศัยในโครงการแล้ว 166 หลังคาเรือน คงเหลือ 84 หลังคาเรือน และเทศบาลเมือง
                                                                                              ร้อยเอ็ดยังคงดำเนินโครงการต่อไปจนกว่าครัวเรือนทั้งหมดมีที่อยู่อาศัยอย่างมั่นคง และ
               1.  เกิดการพัฒนาความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัยคนจนในชุมชนแออัด ที่สามารถแก้ปัญหา   การปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมือง – กำแพงเมือง จะเสร็จสมบูรณ์สมเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่น่า
                 การอยู่อาศัยได้ตรงจุด ตรงกับความต้องการของชุมชน ซึ่งสามารถแก้ไขปัญหาการอยู่  ภาคภูมิใจของชาวเมืองร้อยเอ็ด
                 อาศัยของครัวเรือนได้  คิดเป็นประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับประโยชน์รวม 581 คน
                                                                                              ศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลเมืองร้อยเอ็ดฯ
               2.  เกิดแนวทางใหม่ในการแก้ไขปัญหาการอยู่อาศัยอย่างเป็นระบบ  ซึ่งจะทำให้เกิดการ
                 แก้ไขปัญหาที่ตรงกับความต้องการ โดยการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นได้คุ้มค่า เป็น            ปัจจุบันการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีความจำเป็นอย่างยิ่ง ด้วยภัยธรรมชาติที่เกิด

                 ประโยชน์สูงสุดภายใต้การร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแรงและร่วมใจ  ระหว่างเทศบาลเมือง   ขึ้นอย่างต่อเนื่อง และภัยอื่นๆ ที่เกิดขึ้น มีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงมากขึ้น และองค์กรปกครอง
                 ร้อยเอ็ด ประชาชนในพื้นที่ หน่วยงานของรัฐ และเอกชน ประสานกันพัฒนาด้าน         ส่วนท้องถิ่นมีบทบาทที่สำคัญในการจัดการสาธารณภัยต่างๆ แต่ปัญหาที่สำคัญต่อภารกิจการ
                 เศรษฐกิจสังคมต่อไป                                                           ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลายแห่ง คือการขาดเครื่องมือ

               3.  เกิดรูปธรรมในการแก้ไขปัญหาคนจนในเมือง โดยให้คนจนสามารถมีความมั่นคง         อุปกรณ์ รวมถึงบุคลากรในการจัดการสาธารณภัย  ดังนั้น เพื่อให้การจัดทำบริการสาธารณะด้าน
                 มีสิทธิการอยู่อาศัย สามารถมีชีวิตอย่างมีสถานภาพ และมีศักดิ์ศรี และเนื่องจากการ  การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นไปอย่างเท่าเทียมกัน มีประสิทธิภาพ  จึงมีการพัฒนาระบบ

                 แก้ไขปัญหาความมั่นคงการอยู่อาศัยนี้จะดำเนินการพร้อมกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ   รูปแบบการบริหารจัดการเสริมสร้างขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยการจัด
                 สังคม สวัสดิการ และสิ่งแวดล้อมของชุมชน ทำให้เกิดรูปธรรมการแก้ไขปัญหาคนจน     กลุ่มพื้นที่บริการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย  อันจะนำมาซึ่งประโยชน์ที่ได้รับร่วมกัน
                 ที่ต่อเนื่อง เชื่อมโยง และสัมพันธ์กับโครงสร้างปัญหาอย่างแท้จริง              คือ การที่ประชาชนภายในเขตพื้นที่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีคุณภาพชีวิตที่ดี
                                                                                              เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด องค์การบริหารส่วนตำบลเหนือเมือง องค์การบริหารส่วนตำบลรอบเมือง
               4.  ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ดมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ตระหนักในคุณค่าและ  องค์การบริหารส่วนตำบลดงลาน  จึงได้ร่วมกันลงนาม “บันทึกข้อตกลงเพื่อจัดทำบริการสาธารณะ
                 ความสำคัญของโบราณสถาน รวมทั้งมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่ที่เป็นโบราณสถาน  ด้านบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ZONE 01 จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ.

                 คูเมือง – กำแพงเมืองให้คงสภาพไว้ แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดร้อยเอ็ด  2550” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริการสาธารณะด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกัน
                 และเป็นแหล่งท่องเที่ยว

        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98