Page 98 - kpi15860
P. 98

6                                                                          7


 การดำเนินงานทุกโครงการ/กิจกรรม การสรุปสถิติการเกิดสาธารณภัย รวมถึง     9.  เกิดผลสัมฤทธิ์ในด้านการตอบสนองต่อปัญหาและการแก้ไขปัญหาได้ทันต่อความ
 ทิศทางแนวทางการต่อยอดการพัฒนาในปีงบประมาณต่อไป    ต้องการของประชาชน  และการคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชนในเขตพื้นที่
    =  การรายงานผลการดำเนินงานประจำปี โดยจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน  รับผิดชอบ
 ประจำปี เพื่อรายงานให้คณะกรรมการบริหารศูนย์ความร่วมมือด้านฯ  สภา  โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนนอกระบบ

 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นภาคีสมาชิก ท้องถิ่นจังหวัด และ
 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และประชาสัมพันธ์ผลดำเนินงานของศูนย์ความ  การศึกษา (เด็กเร่ร่อน) ในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
 ร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัย  ให้ประชาชนทั่วไปรับทราบ    หนึ่งในปัญหาสำคัญของสถานการณ์เด็กและเยาวชนไทยที่กำลังเผชิญ คือ จำนวน

 ผลจากการดำเนินงานศูนย์ความร่วมมือด้านบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลเมืองร้อยเอ็ดฯ   “เด็กนอกห้องเรียน” หรือ เด็กวัยเรียนที่หายไปจากระบบการศึกษา ซึ่งเด็กและเยาวชนที่เลิกเรียน
 ก่อให้เกิดคุณประโยชน์แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลายประการ ได้แก่   กลางคัน หรือหลุดออกไปจากระบบการศึกษาจะมีอนาคตที่น่าเป็นห่วง ทั้งปัญหาส่วนบุคคลและ
          ภาระทางสังคมในภาพรวม ที่เห็นชัดเจน คือ คุณภาพแรงงานไทย  โดยผลการสำรวจของ
    1.  เกิดการพัฒนาศักยภาพในการจัดการภัยพิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น     สำนักงานสถิติแห่งชาติ  ระบุว่าประชากรไทยวัยแรงงานจบการศึกษาต่ำกว่าระดับประถมศึกษา

    2.  เกิดผลสัมฤทธิ์ด้านสนธิทรัพยากรร่วมกันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่นยาน  ส่งผลให้แรงงานไทยมีระดับผลิตภาพต่ำ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบด้านอื่นๆ ลุกลามไปถึงสังคม
 พาหนะ  เครื่องมือและอุปกรณ์ในการจัดการสาธารณภัย เกิดความคุ้มค่าและ     ยิ่งไปกว่านั้นผลที่เกิดชัดเจนและตรงไปตรงมาที่สุดคือ คุณภาพชีวิตของตัวเยาวชนที่ไม่มีโอกาส
 มีประสิทธิผล และเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการขององค์กรปกครองส่วน    ได้รับการศึกษานั้นเอง เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีภารกิจตาม

 ท้องถิ่นขนาดเล็ก ตลอดจนลดภาระการบริหารจัดการ การใช้จ่ายงบประมาณมีความ  กฎหมายในการจัดบริการและส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่ม
 ประหยัดและคุ้มค่าต่องบประมาณที่ได้รับการอุดหนุนจากภาคีสมาชิก   ประชากรสำคัญ ได้แก่ เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส ได้ดำเนินการจัดระบบ
          สนับสนุนและการบริการต่างๆ สำหรับประชากรดังกล่าว อย่างเป็นรูปธรรม แต่เนื่องจากยังมีอีก
    3.  เกิดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการป้องกันสาธารณภัยในพื้นที่แต่ละแห่ง       หลายครอบครัวที่มีพื้นฐานฐานะที่ยากจน ทำให้ประชาชนในพื้นที่ใช้เวลาส่วนมากในการประกอบ

    4.  เกิดความพึงพอใจแก่ประชาชนในท้องถิ่นในการให้บริการด้านการป้องกันและบรรเทา  อาชีพทำมาหากิน ไม่มีเวลาที่จะอบรมลูกหลาน และส่วนใหญ่ไม่มีค่านิยมในการส่งเสริมลูกหลาน
 สาธารณภัย  ที่รวดเร็ว  ทั่วถึงและเป็นธรรม   ให้เรียนหนังสือ เพราะไม่มีค่าใช้จ่ายในการส่งลูกหลานเล่าเรียน จากการสำรวจปัญหาในเขต
          เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จำนวน 20 ชุมชน  มีประชากรทั้งสิ้น 33,360 คน  มีเด็กและเยาวชน
    5.  เกิดกระบวนการปฏิบัติงานที่ดีสำหรับเจ้าหน้าที่ เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้   ช่วงอายุระหว่าง 15– 18 ปี จำนวนกว่า 2,000 คน  พบว่าเด็กและเยาวชนที่หลุดออกนอกระบบ
 ประสบการณ์ที่หลากหลาย และเกิดความร่วมมืออย่างเป็นรูปธรรม   การศึกษามีจำนวนกว่า 400 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งนับว่าเป็นตัวเลข

    6.  ประชาชนภายในเขตพื้นที่บริการมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน   ที่น่าเป็นห่วง

    7.  เกิดผลสัมฤทธิ์ด้านกรอบเวลา การให้บริการ ความรวดเร็วในการให้บริการ   เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้ดำเนินโครงการส่งเสริมและ
          พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา (เด็กเร่ร่อน) ในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
    8.  เป็นโครงการนำร่องให้กลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นมีแนวคิดร่วมกันจัดการ  เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทั้งทางด้านจิตใจ อารมณ์ ปลูกจิตสำนึก และฝึกอบรมพัฒนาอาชีพ

 ด้านสาธารณภัย    ให้สามารถประกอบอาชีพหารายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิต


 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57                               รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103