Page 32 - kpi15860
P. 32
0 1
คณะกรรมการตลาดโต้รุ่งได้มีการสลับสับเปลี่ยนประธานตลาดโต้รุ่งเพื่อเป็นการ 4. ผู้บริหารเทศบาล บรรลุนโยบายตามแผนพัฒนาเทศบาล ด้านพัฒนารายได้
เปิดโอกาสให้พ่อค้าแม่ค้าตลาดโต้รุ่งมีส่วนร่วมในการบริหารงานอย่างโปร่งใส ร่วมถึงหาก ด้านพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัย ด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านส่งเสริมการสร้างพื้นที่
คณะกรรมการคนใดไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ก็มีการเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีความพร้อมสมัครใจ กิจกรรมสำหรับเยาวชน
และได้รับการรับรองจากพ่อค้าแม่ค้าในตลาดเข้ามาบริหารงานในระหว่างปี 2553 - 2556 โรงเรียนทางเลือกเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
มีคณะกรรมการชุดใหม่ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาตลาดโต้รุ่ง เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ อย่างมีส่วนร่วมโดยการมอบอำนาจให้กลุ่ม กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีนโยบายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิในการ
ตัดสินใจและบริหารงานกันเอง ทำให้กลุ่มคณะกรรมการตลาดโต้รุ่งมีความเข้มแข็ง ร่วมแรงร่วมใจ จัดการศึกษาได้ทุกระดับตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของชุมชนในท้องถิ่น
กันพัฒนาตลาดโต้รุ่งให้ยั่งยืน จนเกิดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อประชาชน เช่น เมนูใจดี เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์จึงได้จัดการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยใช้โรงเรียน
อาหารปลอดภัย และกิจกรรมเพื่อสังคมตลอดทั้งปี ส่งผลให้เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มีความเชื่อมั่น เป็นฐาน (School – Based Management: SBM) ในการจัดการศึกษาตลอดชีวิตแก่ประชาชน
ที่จะกล่าวว่า ตลาดโต้รุ่งเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เป็นตลาดโต้รุ่งที่ดีที่สุดในประเทศไทย ด้วยเหตุผล ในท้องถิ่น จึงได้จัดโครงการ “โรงเรียนทางเลือกเพื่อพัฒนาท้องถิ่น” โดยการมีส่วนร่วมของ
ดังนี้ โรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลและบริเวณใกล้เคียงได้เข้ามาใช้
โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาตนเองเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ทั้งนี้ โรงเรียนทาง
การลดความขัดแย้ง ก่อนย้ายเข้าตลาดโต้รุ่งแห่งใหม่ไม่มีการร้องเรียนเดินขบวน เลือกเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ มีการจัดการศึกษา 3 รูปแบบ ได้แก่
มีการกระจายตัวสินค้าตามความหลากหลายประเภทอาหาร ลดปัญหาทำเลการขายที่ได้เปรียบด้วย
การจับฉลาก ค่าใช้จ่ายส่วนกลางมีการกำหนดมาตรฐานอย่างเป็นธรรม/ตามศักยภาพพ่อค้าแม่ค้า 1. การจัดการศึกษาในระบบ มีการจัดการเรียนการสอนอยู่ในรายวิชาเพิ่มเติม และ
ลดขั้นตอนการแก้ไขปัญหาต่างๆ ลดระยะเวลาการแก้ไขปัญหา มีบรรยากาศการปรึกษาหารือ กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมชุมนุม) ซึ่งผู้เรียนในโรงเรียนทุกคนสามารถ
ที่ผ่อนคลายไม่ตึงเครียด สมัครเรียนกิจกรรมแต่ละกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจของตนเองตลอด
ปีการศึกษา
ประชาชนทุกฝ่ายได้รับผลประโยชน์ แบ่งตามประเภทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็น 4 กลุ่ม
ได้แก่ 2. การจัดการศึกษานอกระบบ มีการส่งเสริมอาชีพหลักสูตรระยะสั้น และการศึกษา
นอกระบบ ระดับการศึกษาภาคบังคับ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
1. กลุ่มพ่อค้าแม่ค้า มีสถานที่ทำมาหากินที่เหมาะสม ค่าเช่าถูก มีรายได้สามารถเลี้ยง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ครอบครัวได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี
3. การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย จัดการเรียนรู้โดยหาองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้จาก
2. กลุ่มประชาชน มีตลาดโต้รุ่งที่มีแหล่งอาหารสะอาดปลอดภัย มีคุณภาพชีวิตที่ดี แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายภายใน-ภายนอกโรงเรียน รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชน
จากการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย มีสถานที่พักผ่อน ที่ปลอดภัยเหมาะต่อการนั่ง เรียนรู้จากครูผู้สอนจากศูนย์การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยอำเภอเมือง
รับประทานอาหารและชมกิจกรรมการแสดง มีทางเลือกในบริโภคอาหารที่หลากหลาย กาฬสินธุ์ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดกาฬสินธุ์ และสถานประกอบการต่างๆ
3. เจ้าหน้าที่ การปฏิบัติงานได้ง่ายขึ้น แก้ไขปัญหารวดเร็ว มีความสบายใจในการทำงาน โครงการโรงเรียนทางเลือกเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ที่โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์
ไม่ต้องปฏิบัติงานท่ามกลางความขัดแย้ง ทำให้ได้รับความร่วมมือจากพ่อค้าแม่ค้ามากขึ้น ที่เข้าร่วมโครงการ มีการแบ่งการจัดกิจกรรมที่เน้นการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในสถานศึกษา
ดังนี้
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57