Page 30 - kpi15860
P. 30
2 2
เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มีนโยบายที่จะพัฒนาปรับปรุงตลาดโต้รุ่ง และยกระดับมาตรฐานร้านอาหาร คณะกรรมการตลาดโต้รุ่งยังได้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้เทศบาลปรับปรุง โครงสร้างตลาด
และแผงลอยของตลาดโต้รุ่งให้ได้มาตรฐาน จึงได้มีการคัดเลือกตัวแทนของพ่อค้าแม่ค้าในตลาด โต้รุ่งและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในตลาดหลายอย่างชำรุด อาทิ กันสาด หลังคา โต๊ะเก้าอี้
โต้รุ่งมาปฏิบัติงานในนาม “คณะกรรมการตลาดโต้รุ่ง” เพื่อร่วมพิจารณาและกำหนดแนวทางในการ สำหรับลูกค้า ทางเท้าทางลาด เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพการใช้งานจริง สอดคล้องกับ
พัฒนาตลาดโต้รุ่งร่วมกับเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งคณะกรรมการตลาดโต้รุ่งนี้ มีที่มาจากการ ความต้องการของผู้บริโภค เทศบาลจึงได้ทำการปรับปรุงโครงสร้างในตลาดตามข้อเสนอแนะของ
รับสมัครพ่อค้า-แม่ค้าในตลาดโต้รุ่งที่มีความสนใจสมัครเป็นคณะกรรมการตลาดโต้รุ่ง พร้อมทั้ง คณะกรรมการ ได้แก่
มีการแบ่งหน้าที่ชัดเจน เช่น เหรัญญิก ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม โดยมีการเลือกตั้งแบบหย่อนบัตร
ลงคะแนน 1. การพัฒนาด้านโครงสร้างตัวอาคาร จัดทำรางรองรับน้ำฝน จัดทำกันสาด ปรับปรุงทาง
ลาดเพื่ออำนวยความสะดวกผู้พิการ ต่อเติมกันสาดห้องสมุดบ้านหนังสือ ปรับปรุง
คณะกรรมการตลาดโต้รุ่งได้มีบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่งในการบริหารและพัฒนาตลาดโต้รุ่ง ลานน้ำพุมาเป็นเวทีการแสดงเยาวชน ซ่อมแซมหลังคาห้องสมุดบ้านหนังสือ ฯลฯ
ในปี พ.ศ. 2546 เทศบาลมีนโยบายย้ายตลาดโต้รุ่งอีกครั้ง คณะกรรมการตลาดโต้รุ่งมีบทบาท 2. การพัฒนาด้านดูแลรักษาความสะอาด ภายในร้านของผู้ประกอบการ จัดสถานที่
ในการให้ความเห็นชอบ แนะนำ ปรับปรุงแบบแปลนอาคารตลาด การก่อสร้างตลาดโต้รุ่งแห่งใหม่ ล้างจานให้เหมาะสม การจัดเก็บอาหาร การจัดเก็บขยะและการทำความสะอาด
แล้วเสร็จในปี 2551 โดยออกแบบและก่อสร้างให้เป็นแบบศูนย์อาหาร มีบูธสำหรับขายอาหาร -
เครื่องดื่ม จำนวน 103 บูธ และยังมีแผงสำหรับจำหน่ายกิ๊ฟชอป จำนวน 28 แผง โดยคณะ 3. การพัฒนาด้านความสะดวกสบายกับลูกค้า ติดตั้งพัดลม โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง
กรรมการตลาดโต้รุ่งซึ่งเป็นตัวแทนที่พ่อค้า-แม่ค้าคัดเลือกร่วมกับเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ได้จัดทำ ลานการแสดงเยาวชน จัดทำป้ายเมนูอาหารภาษาอังกฤษ
ข้อตกลงและข้อปฏิบัติเพื่อเตรียมพื้นที่ตลาดโต้รุ่งแห่งใหม่ ได้แก่ จำกัดจำนวนร้านอาหาร/ 4. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ตรวจสุขภาพของพ่อค้าแม่ค้าประจำปี จัดงานมหกรรม
แผงลอย ให้มีการรวมกลุ่มแผงลอยจำหน่ายอาหาร 5 แผง โดยมีประเภทอาหารที่แตกต่างกัน อาหารปลอดภัยไร้แอลกอฮอล์
ให้ตัวแทนของกลุ่มแผงลอยจำหน่ายอาหารทำการจับฉลากพื้นที่เข้าขาย และพื้นที่รวมบริเวณนั่ง
รับประทานอาหารให้แต่ละแผงร่วมกันทำความสะอาดและเก็บภาชนะของตนเอง 5. การทำงานเพื่อสังคม จัดสร้างห้องสมุดเด็กเล็กและเยาวชน จัดกิจกรรมวันเด็ก
แห่งชาติ กิจกรรม อย.จิ๋วตลาดโต้รุ่ง ลานกิจกรรมเยาวชน
นอกจากนี้ คณะกรรมการตลาดโต้รุ่ง เครือข่ายจิตอาสาจังหวัดกาฬสินธุ์และชมรม
ถ่ายภาพจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้เห็นปัญหาของลูกหลานของพ่อค้า-แม่ค้าตลาดโต้รุ่งที่มีความแตกต่าง 6. การพัฒนาโครงสร้างการทำงานของชมรม มีโครงการอบรมบุคลากรเพื่อพัฒนา
จากเด็กในวัยเดียวกันอื่นๆ เช่น พ่อแม่ไม่มีเวลาดูแลเด็กในช่วงเวลาจำหน่ายอาหาร เด็กนอนดึก ศักยภาพของชมรม ในด้านภาษา เช่น การอบรมภาษาต่างประเทศ ด้านความรู้
เพราะต้องรอพ่อแม่ที่ค้าขายในตลาดโต้รุ่งจึงได้ ขออนุญาตใช้พื้นที่บริเวณห้องล้างจานรวมซึ่งยังไม่ ความสามารถ เช่น การฝึกอบรมทักษะอาชีพ มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย
ได้ใช้งานจากเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ เพื่อปรับปรุงเป็นห้องสมุดบ้านหนังสือสำหรับเด็กโดยใช้ เดือนละ 1 ครั้ง จัดทำสมุดหน้าเหลืองเพื่อการติดต่อประสานงาน มีการมอบหมาย
งบประมาณจากการเล่นดนตรีเปิดหมวก เงินบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธากว่า 50,000 บาท ซึ่งการเปิด หน้าที่กับบุคลากรที่เหมาะสมและมีการหมุนเวียนกันในการทำหน้าที่ต่างๆ รวมถึงมี
ห้องสมุดบ้านหนังสือนี้ ทำให้คุณภาพชีวิตของพ่อค้าแม่ค้า และลูกหลานถูกพัฒนาดีขึ้น ลูกหลาน การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานทางภาครัฐและเอกชน เช่น สาธารณสุขจังหวัด
ได้รับการพัฒนาทักษะในการเรียน การอ่าน และทักษะชีวิตควบคู่กัน นอกจากนี้ยังขยายผลสู่การ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์
คุ้มครองผู้บริโภคด้วยการให้ลูกหลานตลาดโต้รุ่งร่วมตรวจผลิตภัณฑ์อาหารที่วางจำหน่ายในตลาด สำนักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ และองค์กรภาคเอกชน ชมรมต่างๆ
ผ่านกิจกรรม “อย. จิ๋ว”
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57