Page 28 - kpi15860
P. 28

26                                                                         27


          โครงการการมีส่วนร่วมจัดระเบียบพ่อค้าแม่ค้าตลาดโต้รุ่ง เทศบาลเมือง

          กาฬสินธุ์

                สภาพชุมชนของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เป็นชุมชนเมืองที่นับวันจะขยายความเจริญสู่ชุมชน

          ต่างๆ สูงขึ้น ประชากรจากอำเภอต่างๆ อพยพเข้ามาสู่เมืองเพื่อเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้า
          รวมถึงการเข้าถึงสถานศึกษาชั้นนำ เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตกาฬสินธุ์
          วิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์  ประกอบกับประชากรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้
          เกิดความสอดคล้องกับพฤติกรรมการทำงาน การเรียน จึงส่งผลให้อาชีพพ่อค้าแม่ค้าจำหน่าย
          อาหารสำเร็จรูปได้รับความนิยมอย่างสูง ทั้งนี้เพื่อลดเวลาการประกอบอาหาร จะเห็นได้จากในเขต

          เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มีร้านจำหน่ายอาหารที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายทั้งสิ้น 287 ร้าน
 เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ได้กำหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า “กาฬสินธุ์เป็นเมืองน่าอยู่คู่ธรรมาภิบาล”   แผงลอยจำหน่ายอาหาร 135 แผง อีกทั้งยังมีร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารหลายแห่งที่ยังไม่
 ดังนั้น หลักการทำงานของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ คือ การสร้างเมืองให้น่าอยู่ ต้องควบคู่กับความมี  ได้จดทะเบียนหรือฝ่าฝืนจำหน่ายอาหารในที่หรือทางสาธารณะที่เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มิได้
 ธรรมาภิบาล  และสองหลักในธรรมาภิบาล คือ หลักความโปร่งใส และหลักการมีส่วนร่วม      ประกาศให้เป็นจุดผ่อนผันการจำหน่ายสินค้า เช่น แผงลอยจำหน่ายอาหารที่สามารถเคลื่อนย้าย
 เป็นหลักการที่เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ได้ตระหนักและยึดถือมาโดยตลอด    ไปเรื่อยๆ หรืออาศัยบริเวณทางเท้าเป็นแหล่งจำหน่ายอาหาร มักก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบ
          ความไม่สะอาด ปลอดภัยของอาหาร การสร้างความเดือดร้อนจากกลิ่น ควัน ขยะ น้ำเสียจากการ
 เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เปิดโอกาสให้ประชาชนและภาคส่วนต่างๆ มีส่วนร่วม     ประกอบอาหารไม่เป็นไปตามข้อกำหนดของเทศบัญญัติเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ เรื่องการจำหน่าย
 ในกระบวนการการบริหารงานของเทศบาลตั้งแต่การวางแผนพัฒนาเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์  ที่มี  สินค้าในที่หรือทางสาธารณะ พ.ศ. 2543
 คณะกรรมการมาจากภาคประชาชน ภาคราชการ ภาคเอกชน มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม
 และเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณของเทศบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง   เพื่อแก้ไขปัญหาความไม่เป็นระเบียบของเมือง และสุขอนามัยของประชาชน  เทศบาลเมือง
 มี “อาสาสมัครตรวจสอบการทุจริต” ที่มีประชาชนจากทุกภาคส่วน ทุกวัย เข้ามาร่วม และมีการ  กาฬสินธุ์จึงมีแนวคิดในการพัฒนาตลาดโต้รุ่ง ทั้งการบริหารจัดการความสะอาดปลอดภัยของ
 ปลูกฝังค่านิยมความสุจริตให้อยู่ในวิถีชีวิตของประชาชน เริ่มต้นตั้งแต่ในวัยเรียน ทำให้การดำเนินงาน   อาหาร ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกลูกค้า เพื่อให้สามารถแข่งขันกับร้านค้าแผงลอยที่สะดวก

 ของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มีความก้าวหน้า สามารถพัฒนาการให้บริการใหม่ๆ มีความโปร่งใส     ซื้อ แต่ไม่เป็นระเบียบและไม่ได้มาตรฐานตามมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร จึงเป็นสิ่งที่ท้าทายความ
 เป็นที่น่าเชื่อถือและศรัทธาของประชาชน ส่งผลให้ประชาชนหลายกลุ่ม หลายภาคส่วนอาสาสมัคร  สามารถของผู้บริหารเทศบาล การบริหารงานที่จะทำให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนจำเป็นต้องอาศัย
 เข้ามาทำงานกับร่วมกับเทศบาล ทำให้กิจกรรมและโครงการต่างๆ ประชาชนมีความรู้สึกเป็น  การมีส่วนร่วมระหว่างเทศบาล พ่อค้าแม่ค้าตลาดโต้รุ่ง
 เจ้าของ สามารถพัฒนาไปสู่ความยั่งยืนได้
                การพัฒนาตลาดโต้รุ่ง เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ แบบมีส่วนร่วมได้มีพัฒนาการมาโดยตลอด
 สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ      ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นตลาดโต้รุ่ง พ.ศ. 2536 และมีการย้ายสถานที่อีกหลายต่อหลายครั้ง เนื่องจาก

 ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์  ได้แก่   ก่อปัญหาให้กับประชาชนและชุมชนในบริเวณนั้น อาทิ การจราจรติดขัด มลพิษทางเสียง กลิ่น
          ควัน จากการประกอบอาหาร รวมทั้งอาหารที่ขายไม่ได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร  ในปี พ.ศ. 2545



 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57                               รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33