Page 280 - kpi15860
P. 280

27                                                                         27



  เทศบาลนครขอนแก่น อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น   เทศบาลนครขอนแก่น  มีการบริหารงานที่พัฒนามาจาก “การส่งเสริมการมีส่วนร่วม” และ
          มีการพัฒนาและต่อยอดการทำงานอยู่เสมอมา อีกทั้งแสวงหาความร่วมมือในการทำงานจากภาครัฐ
          เอกชน และภาคประชาสังคม จนเกิดเป็นเครือข่ายการที่มีศักยภาพในการทำงานและสร้างความ
          รู้สึกในการเป็นเจ้าของโครงการร่วมกัน และได้ปรับบทบาทของเทศบาลในการเป็นผู้ประสานและ
          ส่งเสริมให้ประชาชนและภาคีเครือข่ายเป็นผู้นำ สามารถตัดสินใจและดำเนินโครงการร่วมกัน

          เสมือนเพื่อนร่วมงานเพื่อประโยชน์และความสุขของประชาชนเป็นสำคัญ ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า
          “พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข” ร่วมกับการสร้างวัฒนธรรมองค์กรในการ
          เสริมสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรเพื่อนำไปสู่การพัฒนาองค์กรต่อไป

                การดำเนินงานแบบเครือข่ายของเทศบาลนครขอนแก่น มุ่งการสร้างจิตสำนึกของเครือข่าย
          ให้กลายเป็นเจ้าของเทศบาลร่วมกัน อีกทั้งเปลี่ยนทัศนคติในการทำงานของบุคลากรของเทศบาลว่า

          ความสำเร็จของงานมิใช่ผลงานของตนเพียงผู้เดียว แต่เป็นความสำเร็จของภาคีเครือข่ายที่ดำเนิน
 ข้อมูลพื้นฐาน   งานร่วมกัน อันเป็นการหลอมให้เกิดวัฒนธรรมใหม่ขององค์กร แก้ไขปัญหาได้สมบูรณ์แบบและ
    สถานที่ตั้ง  ตำบลในเมือง  อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น  40000   สะดวกขึ้น อีกทั้งยังเป็นองค์กรที่ไม่หยุดนิ่งที่เรียกว่า “องค์กรสมสมัย หรือ Smart ขึ้น” นั่นเอง
              โทรศัพท์ 043-221-667 โทรสาร 043-221-667   สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ
    ประชากร  111,707 คน  (ชาย  52,866 คน หญิง 58,841 คน)   เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลนครขอนแก่น ได้แก่
    พื้นที่     46 ตารางกิโลเมตร (ครอบคลุมจำนวน 93 ชุมชน)

    รายได้     678,749,799.10 บาท    เครือข่ายโครงการฟื้นฟูเยียวยาและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กเยาวชน
           (ไม่รวมเงินอุดหนุน, เงินกู้ เงินจ่ายขาดจากเงินสะสม)   ชายขอบในสังคมเมือง
    เงินอุดหนุน  691,511,722.97 บาท
                ในปี พ.ศ.2554 สถานการณ์เด็กเยาวชนหลุดจากระบบการศึกษาภาคปกติมาอยู่นอกระบบ
 คณะผู้บริหาร   มากขึ้นจนเป็นปัญหาระดับชาติ  สำนักการศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น ได้ตระหนักถึงปัญหา
    1.  นายธีระศักดิ์  ฑีฆายุพันธุ์   นายกเทศมนตรีนครขอนแก่น   ดังกล่าวและพยายามหาวิธีแก้ไข โดยการวางแผนและออกแบบกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อเข้าถึง
    2.  นายเรืองชัย  ตราชู   ประธานสภาเทศบาลนครขอนแก่น   เข้าใจ และจัดการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเด็กเยาวชนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ซึ่งได้รับการสนับสนุน

    3.  นายสุภัฐวิทย์  ธารชัย   ปลัดเทศบาลนครขอนแก่น   งบประมาณจากสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) และได้ดำเนินงาน

 สัดส่วนสมาชิกสภา   ภายใต้โครงการพลิกฟื้นพลังหนุ่มสาวสู่ก้าวย่างใหม่วัยสะออนนครขอนแก่นในปี 2554-2555 ก่อน
    ชาย   18  คน   จะพัฒนาต่อยอดโครงการฟื้นฟูเยียวยาและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กเยาวชนชายขอบในสังคมเมือง
    หญิง  6  คน   ตั้งแต่ปี 2555 ถึงปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. 2557 มีเป้าหมายที่จะฟื้นฟูเยียวยาและพัฒนาคุณภาพ
          ชีวิตเด็กเยาวชนชายขอบในสังคมเมือง จำนวน 300 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 3,000 คน และดำเนินงาน
          ภายใต้กระบวนการ “5C กลยุทธ์พิชิตใจเด็กชายขอบ ผ่านการเรียนรู้นอกกรอบ” ดังนี้


 รางวัลพระปกเกล้า’ 57                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 57
   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285