Page 279 - kpi15860
P. 279
27 27
เทศบาลนครขอนแก่น อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เทศบาลนครขอนแก่น มีการบริหารงานที่พัฒนามาจาก “การส่งเสริมการมีส่วนร่วม” และ
มีการพัฒนาและต่อยอดการทำงานอยู่เสมอมา อีกทั้งแสวงหาความร่วมมือในการทำงานจากภาครัฐ
เอกชน และภาคประชาสังคม จนเกิดเป็นเครือข่ายการที่มีศักยภาพในการทำงานและสร้างความ
รู้สึกในการเป็นเจ้าของโครงการร่วมกัน และได้ปรับบทบาทของเทศบาลในการเป็นผู้ประสานและ
ส่งเสริมให้ประชาชนและภาคีเครือข่ายเป็นผู้นำ สามารถตัดสินใจและดำเนินโครงการร่วมกัน
เสมือนเพื่อนร่วมงานเพื่อประโยชน์และความสุขของประชาชนเป็นสำคัญ ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า
“พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข” ร่วมกับการสร้างวัฒนธรรมองค์กรในการ
เสริมสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรเพื่อนำไปสู่การพัฒนาองค์กรต่อไป
การดำเนินงานแบบเครือข่ายของเทศบาลนครขอนแก่น มุ่งการสร้างจิตสำนึกของเครือข่าย
ให้กลายเป็นเจ้าของเทศบาลร่วมกัน อีกทั้งเปลี่ยนทัศนคติในการทำงานของบุคลากรของเทศบาลว่า
ความสำเร็จของงานมิใช่ผลงานของตนเพียงผู้เดียว แต่เป็นความสำเร็จของภาคีเครือข่ายที่ดำเนิน
ข้อมูลพื้นฐาน งานร่วมกัน อันเป็นการหลอมให้เกิดวัฒนธรรมใหม่ขององค์กร แก้ไขปัญหาได้สมบูรณ์แบบและ
สถานที่ตั้ง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 สะดวกขึ้น อีกทั้งยังเป็นองค์กรที่ไม่หยุดนิ่งที่เรียกว่า “องค์กรสมสมัย หรือ Smart ขึ้น” นั่นเอง
โทรศัพท์ 043-221-667 โทรสาร 043-221-667 สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ
ประชากร 111,707 คน (ชาย 52,866 คน หญิง 58,841 คน) เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลนครขอนแก่น ได้แก่
พื้นที่ 46 ตารางกิโลเมตร (ครอบคลุมจำนวน 93 ชุมชน)
รายได้ 678,749,799.10 บาท เครือข่ายโครงการฟื้นฟูเยียวยาและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กเยาวชน
(ไม่รวมเงินอุดหนุน, เงินกู้ เงินจ่ายขาดจากเงินสะสม) ชายขอบในสังคมเมือง
เงินอุดหนุน 691,511,722.97 บาท
ในปี พ.ศ.2554 สถานการณ์เด็กเยาวชนหลุดจากระบบการศึกษาภาคปกติมาอยู่นอกระบบ
คณะผู้บริหาร มากขึ้นจนเป็นปัญหาระดับชาติ สำนักการศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น ได้ตระหนักถึงปัญหา
1. นายธีระศักดิ์ ฑีฆายุพันธุ์ นายกเทศมนตรีนครขอนแก่น ดังกล่าวและพยายามหาวิธีแก้ไข โดยการวางแผนและออกแบบกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อเข้าถึง
2. นายเรืองชัย ตราชู ประธานสภาเทศบาลนครขอนแก่น เข้าใจ และจัดการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเด็กเยาวชนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ซึ่งได้รับการสนับสนุน
3. นายสุภัฐวิทย์ ธารชัย ปลัดเทศบาลนครขอนแก่น งบประมาณจากสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) และได้ดำเนินงาน
สัดส่วนสมาชิกสภา ภายใต้โครงการพลิกฟื้นพลังหนุ่มสาวสู่ก้าวย่างใหม่วัยสะออนนครขอนแก่นในปี 2554-2555 ก่อน
ชาย 18 คน จะพัฒนาต่อยอดโครงการฟื้นฟูเยียวยาและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กเยาวชนชายขอบในสังคมเมือง
หญิง 6 คน ตั้งแต่ปี 2555 ถึงปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. 2557 มีเป้าหมายที่จะฟื้นฟูเยียวยาและพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตเด็กเยาวชนชายขอบในสังคมเมือง จำนวน 300 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 3,000 คน และดำเนินงาน
ภายใต้กระบวนการ “5C กลยุทธ์พิชิตใจเด็กชายขอบ ผ่านการเรียนรู้นอกกรอบ” ดังนี้
รางวัลพระปกเกล้า’ 57 รางวัลพระปกเกล้า’ 57