Page 111 - kpi15860
P. 111
110 111
การบริหารจัดการแบบธรรมาภิบาลและการมีสวนรวม 8) โครงการฝึกอบรมอาชีพช่างไฟฟ้า และ 9) โครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนกลุ่มแปรรูปผลผลิต
ทางการเกษตร(กล้วยทองม้วน) โครงการดังกล่าวนี้ครอบคลุมการพัฒนาท้องถิ่นในมิติเศรษฐกิจ
ประชาชน สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมาย
ในการพัฒนา คือ “ก้าวหน้า สมดุล มั่นคง และยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง”
โครงสราง เศรษฐกิจ
พื้นฐาน พอเพียง ทั้งนี้โครงการย่อยที่บรรจุรวมอยู่ใน “โครงการชุมชนท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นการ
ผสมผสานโครงการของส่วนงานต่างๆ ภายในเทศบาลที่ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง นำกลับมา
ทรัพยากรธรรมชาติ ดำเนินการ และเริ่มดำเนินการใหม่ เพื่อให้การขับเคลื่อนการพัฒนาท้องถิ่นมีความเชื่อมโยงเป็นไป
และสิ่งแวดลอม การพัฒนาสังคม
พื้นที่ในเขต ในทิศทางเดียวกันและบรรลุเป้าหมาย
เทศบาลตําบลปริก
ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม ต่างเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนิน
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม คุณภาพชีวิต “โครงการชุมชนท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีการประชุมหารือกันเพื่อบูรณาการแผนงาน/
ภาคสวน องคกร
การศึกษา โครงการของทุกภาคส่วน และแบ่งงานกันทำตามบทบาทของแต่ละภาคส่วน นอกจากนี้ยังมีการบูร
ที่เกี่ยวของ ทองถิ่น
ณาการงบประมาณและทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงาน อาทิ ปตท.สนับสนุนงบประมาณ บริษัท
การทํางานเชิงบูรณาการโดยใชพื้นที่เป็ นตัวตั้ง
เอกชนส่งพนักงานเข้าร่วมดำเนินงานและให้องค์ความรู้ รวมทั้งประชาชนสมทบแรงกายในการ
ดำเนินงาน ฯลฯ
สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ 1. โครงการเทศบาลสีเขียว
ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลตำบลปริก ได้แก่
สําหรับนวัตกรรมและการดําเนินงานที่เปนเลิศที่สะทอนใหเห็นถึงความเปนเลิศ ดานการเสริมสราง
เทศบาลตำบลปริกมุ่งสู่การเป็นเทศบาลสีเขียว (Green Office) หรือสำนักงานที่เป็นมิตร
เครือขายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลตําบลปริก ไดแก ต่อ บุคลากร สิ่งแวดล้อม และสังคม โดยมุ่งลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยการ
โครงการชุมชนท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียง
เทศบาลตำบลปริกพัฒนาท้องถิ่นภายใต้วิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจพอเพียง ร้อยเรียงวิถีชุมชน ปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมบุคลากรในองค์กรให้ประหยัดพลังงาน เทคนิคการประหยัด
โครงการชุมชนทองถิ่นเศรษฐกิจพอเพียง พลังงานที่นำมาใช้ภายในเทศบาล ได้แก่ Reuse (การใช้ซ้ำจนกว่าจะใช้ไม่ได้), Recycle (การนำ
คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ประชาสังคมสันติสุข” โดยได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เทศบาลตําบลปริกพัฒนาทองถิ่นภายใตวิสัยทัศน “เศรษฐกิจพอเพียง รอยเรียงวิถีชุมชน คนเปน กลับมาใช้ใหม่), Refuse (การปฏิเสธการใช้พลังงานแบบสิ้นเปลือง), Repair (การนำกลับมา
มาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น กระทั่งก่อเกิดเป็นโครงการใหญ่ (Umbrella Project) ที่มีชื่อว่า
ศูนยกลางการพัฒนา ประชาสังคมสันติสุข” โดยไดนอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการ ซ่อมแซมใหม่) และ Reduce (การลดการใช้ทรัพยากรให้ได้มากที่สุด) นอกจากการปรับเปลี่ยน
“โครงการชุมชนท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียง”
พัฒนาทองถิ่น กระทั่งกอเกิดเปนโครงการใหญ (Umbrella Project) ที่มีชื่อวา “โครงการชุมชนทองถิ่น ทัศนคติและพฤติกรรมของพนักงานภายในเทศบาลแล้ว เทศบาลตำบลปริกยังดำเนินกิจกรรม
“โครงการชุมชนท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบด้วยโครงการย่อยมากถึง 9 โครงการ
เทศบาลคาร์บอนต่ำเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมของคนในชุมชนให้ประหยัดพลังงาน
เศรษฐกิจพอเพียง” ด้วยเช่นเดียวกัน โดยดำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ที่สำคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์เมือง
ได้แก่ 1) โครงการเทศบาลสีเขียว 2) โครงการสร้างค่านิยมร่วมในการปฏิบัติงานของพนักงาน
เทศบาลตำบลปริก 3) โครงการฝึกทบทวนอาสาสมัครป้องกันภัยพลเรือน 4) โครงการร่วมมือ
“โครงการชุมชนทองถิ่นเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบดวยโครงการยอยมากถึง 9 โครงการ ไดแก 1) ไร้มลพิษ มีการจัดกิจกรรมนำขยะมาแลกไข่ไก่ 2) ยุทธศาสตร์เมืองพิชิตพลังงาน มีการรณรงค์ให้
ร่วมใจคัดแยกขยะในชุมชน 5) โครงการคลองสวยน้ำใส 6) โครงการรักษ์ป่าสร้างคน 84 ตำบลวิถี
โครงการเทศบาลสีเขียว 2) โครงการสรางคานิยมรวมในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลตําบลปริก 3) ใช้จักรยาน และส่งเสริมการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน 3) ยุทธศาสตร์
พอเพียง 7) โครงการพัฒนาศักยภาพกรรมการชุมชน กลุ่มอาชีพ และกลุ่มกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน
โครงการฝกทบทวนอาสาสมัครปองกันภัยพลเรือน 4) โครงการรวมมือรวมใจคัดแยกขยะในชุมชน 5)
โครงการคลองสวยน้ําใส 6) โครงการรักษปาสรางคน 84 ตําบลวิถีพอเพียง 7) โครงการพัฒนาศักยภาพ รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57
กรรมการชุมชน กลุมอาชีพ และกลุมกิจกรรมตาง ๆ ในชุมชน 8)โครงการฝกอบรมอาชีพชางไฟฟา และ 9)
โครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนกลุมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร(กลวยทองมวน) โครงการดังกลาวนี้
ครอบคลุมการพัฒนาทองถิ่นในมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม โดยยึดหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อมุงไปสูเปาหมายในการพัฒนา คือ “กาวหนา สมดุล มั่นคง และยั่งยืน พรอมรับการ
เปลี่ยนแปลง”