Page 113 - kpi15860
P. 113

112                                                                                                                                                       11


        เมืองบริโภคอย่างยั่งยืน มีการส่งเสริมการปลูกและบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ และ             ราชการของตำบล Kubang Pasu ของประเทศมาเลเซีย จากการฝึกอบรมครั้งนี้ส่งผลให้สมาชิก
        4) ยุทธศาสตร์เมืองแห่งต้นไม้ มีการรณรงค์ให้ปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้น  ทั้งนี้ในการดำเนินโครงการ  อปพร.เข้าใจในบทบาทอำนาจหน้าที่และภารกิจของตนเอง และมีประสบการณ์ในการป้องกันและ
        เทศบาลสีเขียวตลอดจนการขยายผลสู่โครงการเทศบาลคาร์บอนต่ำ เทศบาลตำบลปริกได้ดำเนิน        บรรเทาสาธารณภัย ที่สำคัญเกิดการขยายเครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
        งานร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและประชาสังคมหลากหลายแห่ง ได้แก่ สำนักงานสิ่งแวดล้อม  จากเครือข่ายระดับตำบลสู่ระดับอำเภอ โดยภาคีเครือข่ายประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วน

        ภาคที่ 16, สำนักงานสิ่งแวดล้อมจังหวัดสงขลา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, เกษตรอำเภอ      ท้องถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอสะเดา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา อำเภอสะเดา และป้องกันและ
        สะเดา, เครือข่ายเกษตรกรชาวสวนผลไม้, สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย, สถาบัน          บรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสงขลา  ตลอดจนเกิดการขยายภาคีเครือข่ายไปยังประเทศเพื่อนบ้าน
        สิ่งแวดล้อมไทย และ DELGOSEA                                                           คือ ภาคราชการ ของตำบล Kubang Pasu ประเทศมาเลเซีย ซึ่งทำให้การป้องกันและบรรเทา
                                                                                              สาธารณภัยครอบคลุมพื้นที่ในวงกว้างขึ้นและยกระดับการดำเนินงานด้านนี้ของเทศบาลตำบลปริก
        2. โครงการสร้างค่านิยมร่วมในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลตำบลปริก
                                                                                              สู่สากล
              เนื่องด้วยเทศบาลตำบลปริกมีเป้าประสงค์พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และทักษะในการ
        ปฏิบัติงาน ควบคู่ไปกับการเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อก่อให้เกิดการทำงานที่มี     4. โครงการร่วมมือ ร่วมใจ คัดแยกขยะในชุมชน

        ประสิทธิผลสูงสุด กล่าวคือ สามารถให้บริการประชาชนหรือตอบสนองความต้องการของประชาชน            ปัญหาขยะมูลฝอยในพื้นที่ตำบลปริกทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เทศบาลตำบล
        ได้อย่างแท้จริง  เทศบาลตำบลปริกจึงได้จัดทำโครงการอบรมหลักสูตรสร้างค่านิยมร่วมในการ    ปริกเล็งเห็นว่า แนวทางการจัดการขยะที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การคัดแยกขยะโดยชุมชน และ
        ปฏิบัติงานให้แก่พนักงานเทศบาลและภาคีเครือข่าย  การจัดอบรมครั้งนี้ไม่อาจสำเร็จลุล่วงได้ หาก  เพื่อให้ชุมชนเป็นกลไกหลักในการดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะ เทศบาลตำบลปริกจึงเริ่มดำเนิน
        เทศบาลตำบลปริกไม่มีภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานทั้งจากภาครัฐและประชาสังคม คือ ท้องถิ่น  โครงการร่วมมือ ร่วมใจ คัดแยกขยะในชุมชน โดยให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะแก่คนในชุมชน
        อำเภอสะเดา, ท้องถิ่นจังหวัดสงขลา กรรมการชุมชน กลุ่มแม่บ้าน และอาสาสมัครพลเรือน ทั้งนี้  เก็บถังขยะเดิมที่ชำรุดและมอบถังขยะใหม่ให้แก่ชุมชน พร้อมทั้งดำเนินการจัดประกวดหน้าบ้าน
        ภายหลังจากการอบรม พนักงานเทศบาลได้รับความรู้, พัฒนาทักษะและความสามารถในการ            น่ามองในทุกชุมชนควบคู่กันไป ทั้งนี้การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ได้รับความร่วมมือจากภาคี

        ปฏิบัติงาน, พัฒนาการทำงานแบบบูรณาการ,  พัฒนาการทำงานเป็นทีม, พัฒนาทัศนคติและได้รับ    เครือข่ายเดิมและก่อให้เกิดภาคีเครือข่ายใหม่จากทั้งภาครัฐ สถาบันการศึกษา และภาคประชา
        การปลูกฝังจิตสำนึกให้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเป็นสำคัญ โดยเสียสละ     สังคม คือ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และ
        ประโยชน์ส่วนตัวเพื่อประโยชน์ส่วนรวม และเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองในการพัฒนาท้องถิ่น   ประชาชนในทุกชุมชน  ภายหลังจากการดำเนินโครงการ คนในชุมชนสามารถคัดแยกขยะในครัว
        มากขึ้น                                                                               เรือนของตนเองได้ ส่งผลให้ปริมาณขยะในพื้นที่ลดลง ลดผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและ
                                                                                              สุขอนามัยของคนในพื้นที่ พื้นที่มีความสะอาดมากขึ้น และชุมชนยังสามารถดำเนินการต่อยอดจาก
        3. โครงการฝึกทบทวนอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
                                                                                              การคัดแยกขยะโดยเพิ่มมูลค่าให้แก่ขยะด้วยการทำปุ๋ยหมักชีวภาพและน้ำหมักชีวภาพ
              สาธารณภัยที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งทั้งภัยธรรมชาติและภัยที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์สร้าง

        ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่มี  5. โครงการคลองสวย น้ำใส
        ประสิทธิภาพจำเป็นต้องอาศัยทักษะ ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความร่วมมือจากทั้ง         “คลองปริก” เป็นคลองสายหลักของเทศบาลตำบลปริก  ประชาชนใช้น้ำจากคลองนี้
        หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม โดยเฉพาะกลุ่มอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน     เพื่อการอุปโภค บริโภค และเกษตรกรรม เนื่องจากบริเวณริมคลองเป็นที่ตั้งของโรงงาน
        (อปพร.)  เทศบาลตำบลปริกจึงจัดการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนและการฝึกซ้อม    อุตสาหกรรม เทศบาลตำบลปริกและโรงงานอุตสาหกรรมต่างคำนึงถึงความเสี่ยงต่อความ
        แผนปฏิบัติการเมื่อเกิดเหตุร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่อำเภอสะเดาและภาค    เสื่อมโทรมของคุณภาพน้ำ จึงร่วมกันจัดทำโครงการคลองสวย น้ำใส เพื่อกระตุ้นรวมและปลูก


        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118