Page 130 - kpi11530
P. 130
คำพิพากษา“ใน”คดีปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่ดินทั้งสองแปลงของผู้ฟ้องคดีเพื่อทำถนนกว้าง ๖ เมตร ยาวตลอดแนว
เขตที่ดินดังกล่าว ทำให้ผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหายถือเป็นการกระทำ
ละเมิดทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัด
ตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งบัญญัติให้
“ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในคดีพิพาท
เกี่ยวกับการกระทำละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงาน
ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิดจากการใช้อำนาจตาม
กฎหมาย หรือจากกฎ คำสั่งทางปกครอง หรือคำสั่งอื่น หรือจาก
การละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือ
ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร” อันเป็นการจำกัดประเภทคดี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปกครองที่เกิดจากการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ
อาจจ้างให้เอกชน โดยมุ่งหมายให้ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษา หรือมีคำสั่งใน
เข้าดำเนินการแทนได้ คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำละเมิดที่เกิดจากการใช้อำนาจตามกฎหมาย
แต่ถ้าเอกชนดำเนินการ ของเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐเท่านั้น ประกอบกับเมื่อพิจารณา
แล้วเกิดความเสียหายแก่ มาตรา ๑๖ (๒) แห่งพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
ประชาชน อำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดให้องค์การ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก
ที่เป็นผู้มอบหมาย ทางน้ำ และทางระบายน้ำ และมาตรา ๖๗ (๑) แห่งพระราชบัญญัติสภา
ให้เอกชนดำเนินการ ตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ กำหนดให้องค์การ
จะต้องรับผิดชอบร่วมด้วย บริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ในการจัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
อย่างไรหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงในคำฟ้องปรากฏว่า การที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้ว่า
จ้างห้างหุ้นส่วนจำกัดธำรงค์ก่อสร้างทำถนนอันเป็นการจัดให้มี
สิ่งสาธารณูปโภค จึงถือเป็นสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๓ แห่ง
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.
๒๕๔๒ การกระทำของห้างหุ้นส่วนจำกัดธำรงค์ก่อสร้างจึงเป็นการใช้
อำนาจทางปกครองหรือดำเนินกิจการทางปกครองแทนองค์การบริหาร
ส่วนตำบล ดังนั้น การเข้าไปขุดดินในที่ดินของผู้ฟ้องคดีและนำดินในส่วน
ความรับผิดทางละเมิด