Page 338 - kpiebook67020
P. 338

337




           ความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ.2542 มาตรา 5 ซึ่งเป็นไปตามที่อธิบดีกรมสอบสวนคดี
           พิเศษมีความเห็นแย้ง


                  กล่าวได้ว่านับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
           ซี่งมีเจตนารมณ์และบทบัญญัติก�าหนดไว้ชัดเจนว่าให้มีการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม

           โดยเฉพาะอย่างยิ่งปฏิรูประบบสอบสวนคดีอาญา ตามมาตรา 258 ง. ปัญหาวิกฤต
           ดังกล่าวยังคงด�ารงอยู่ กรณีตัวอย่างที่น�าเสนอมาสองกรณี เป็นสิ่งยืนยันว่าประเทศไทย

           ต้องเร่งปฏิรูประบบสอบสวนคดีอาญา โดยเร่งด่วนในด้านการมีกลไกการตรวจสอบ
           และคานอ�านาจ กลไกการเพิ่มประสิทธิภาพในงานสอบสวนคดีอาญา การบูรณาการ

           และน�านิติวิทยาศาสตร์มาใช้ในการสอบสวนคดีอาญา พยานผู้เชี่ยวชาญในส�านวน
           การสอบสวน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่น�ามาใช้พิสูจน์จข้อเท็จจริง

           และหลักฐานแห่งคดี เช่น คลิปวิดีโอ หรือ ผลการพิสูจน์ DNA ช่วยท�าให้ส�านวน
           การสอบสวนและความเห็นการสั่งฟ้องที่เสนอไปยังอัยการมีความน่าเชื่อถือ

           ลดความเคลือบแคลงสงสัยในการท�าหน้าที่ของเจ้าพนักงานผู้ท�าหน้าที่สอบสวนคดี
           อาญา รวมถึงการสั่งคดีของอัยการ และการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล พิจารณา

           จากพยานหลักฐานแห่งคดีในส�านวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวนเป็นส�าคัญ

                  จากการศึกษาวิเคราะห์ ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อด�าเนินการปฏิรูประบบ

           สอบสวนคดีอาญาของประเทศไทย โดยการปฏิรูปในเชิงโครงสร้างระบบสอบสวน

           คดีอาญา และปฏิรูปการบริหารงานภายในองค์กรต�ารวจ รวมทั้งการบูรณาการ
           กลไกความร่วมมือในระบบสอบสวนคดีอาญาทั้งหมด โดยมุ่งเน้นกลไกการคาน
           อ�านาจสอบสวนคดีอาญาของเจ้าหน้าที่ต�ารวจ และการใช้นิติวิทยาศาสตร์ในงาน

           สอบสวนคดีอาญา ดังนี้
   333   334   335   336   337   338   339   340   341   342   343