Page 185 - kpiebook65066
P. 185

113






                       การศึกษา โครงการสงเสริมพัฒนาการดานภาษาที่ 2 ในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก โครงการสนับสนุน
                       คาใชจายการบริหารสถานศึกษา นอกจากนี้ยังมีโครงการอุดหนุนแกโรงเรียนตาง ๆ 7 โรงเรียน เปน
                       จํานวนงบประมาณ 431,000 บาท (เทศบาลเมืองลอมแรด, 2564, น. 8 - 47) ดังนั้น แมเทศบาล
                       เมืองลอมแรดจะไมมีโครงการที่เนนทางดานการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาโดยตรง แตเทศบาล

                       ไดสนับสนุนงบประมาณแกโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ ภายในเขตเทศบาล จึงนับไดวาเปนจุดเดนดานการ
                       พัฒนาการศึกษาของเทศบาลเมืองลอมแรด
                                     3) สถานศึกษา ในเขตพื้นที่เทศบาลมีสถานศึกษารวม 20 แหง ไดแก
                                            (3.1) สถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองลอมแรด จํานวน 2 แหง ไดแก (1)

                       ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองลอมแรด และ (2) ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานอุมลอง
                                            (3.2) สถานศึกษาในสังกัดอื่นๆ จํานวน 18 แหง ไดแก (1) โรงเรียนบาน
                       เหลา (2) โรงเรียนลอมแรดวิทยา (3) โรงเรียนอนุบาลเถิน (ทานางอุปถัมภ) (4) โรงเรียนบานเวียง
                       (5) โรงเรียนอุมลองรักขิตานุเคราะห (6) โรงเรียนบานดอนไชย (7) โรงเรียนเถินวิทยา นอกจากนี้ยังมี

                       ศูนยพัฒนาเด็กเล็กของเอกชน 2 แหง และอื่น ๆ อีก 9 แหง

                              ๓.7.4 บริบทดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา

                                     โครงการสงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา เพื่อเพิ่มโอกาส และลดความ
                       เหลื่อมล้ําทางการศึกษา สําหรับโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก ในเขตเทศบาลเมืองลอมแรด (กรณี
                       โรงเรียนบานเหลา สังกัด สพฐ.) (สนับสนุนศูนยการเรียนรู ICT ในสถานศึกษา เพื่อใหเด็กเขาถึงสื่อที่
                       ทันสมัย) เทศบาลเมืองลอมแรด อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง มีที่มาอันเนื่องมาจากในเขตพื้นที่เทศบาล
                       เมืองลอมแรด มีโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจํานวน 6 โรงเรียน เปน

                       โรงเรียนขนาดกลาง จํานวน 2 โรงเรียน และโรงเรียนขนาดเล็กจํานวน 4 โรงเรียน ซึ่งโรงเรียนขนาด
                       เล็ก ๒ โรงเรียน มีแนวโนมที่จะถูกยุบ 2 เนื่องจากผูบริหารสถานศึกษายายไปดํารงตําแหนงโรงเรียน
                       แหงใหม และกําลังจะเกษียณอายุราชการในเดือนกันยายน 2565 อีกทั้งโรงเรียนยังขาดทรัพยากรใน

                       การจัดการเรียนการสอน มีขอจํากัดดานงบประมาณ ขาดขาราชการครู บุคลากร ลูกจางที่ทํางานดาน
                       การศึกษา ขาดวัสดุอุปกรณ สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัยสําหรับครู และเด็ก รวมถึงสภาพครอบครัว
                       ของผูเรียนมีรายไดนอย เด็กไมไดอยูกับพอแม เปนตน
                                     จากปญหาที่กลาวมาขางตน หากโรงเรียนถูกยุบอาจสงผลกระทบตอเด็กนักเรียน

                       ครู และผูปกครอง ทั้งดานคุณภาพการศึกษา ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม และดานอื่น ๆ เทศบาลเมือง
                       ลอมแรดในฐานะที่เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบหนึ่ง มีอํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติ
                       เทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50 ที่ตองดําเนินการในเขตพื้นที่ของเทศบาล เพื่อประโยชนสุขของ
                       ประชาชน ทั้งดานการสงเสริม และพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และผูพิการ ดานการสงเสริมให

                       ราษฎรไดรับการศึกษาอบรม และพระราชบัญญัติกําหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแก
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ไดกําหนดใหเทศบาลมีอํานาจ และหนาที่ในการ
                       จัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่น ทั้งดานการจัดการศึกษา ดาน
                       การสังคมสงเคราะห การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา ผูดอยโอกาส และพระราชบัญญัติ

                       การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 41 องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาในระดับ
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190