Page 180 - kpiebook65066
P. 180

108






                              ๓.6.4 บริบทดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
                                     จากขอมูลเด็ก และเยาวชนในเขตภาคใตในปการศึกษา 2564 พบวามีเด็ก และ
                       เยาวชนที่ขาดโอกาสทางการศึกษาจํานวน 177 คน จําแนกเปนนักเรียนที่มีทางสถานภาพทาง
                       ครอบครัวพอแมหยาราง จํานวน 91 คน คิดเปนรอยละ 31.06 นักเรียนที่บิดาเสียชีวิต จํานวน 3

                       คน คิดเปนรอยละ 1.02 นักเรียนที่มารดาเสียชีวิต จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 2.05 นักเรียนที่
                       บิดา มารดา เสียชีวิต จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.34 นักเรียนที่บิดาอยูในทัณฑสถาน จํานวน 6
                       คน คิดเปนรอยละ 2.05 นักเรียนที่มารดาอยูในทัณฑสถาน จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.68
                       นักเรียนอาศัยอยูกับปู ยา ตา ยายและญาติ จํานวน 31 คน คิดเปนรอยละ 10.58 นักเรียนที่มีฐานะ

                       ยากจนรายไดต่ํากวา 5,000 บาท จํานวน 37 คน คิดเปนรอยละ 12.63
                                     ในสวนของพื้นที่เขตเทศบาลเมืองทุงสงเอง จากการสํารวจขอมูลในพื้นที่ขององคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่นพบวา มีจํานวนเด็ก และเยาวชน อายุ 3 – 18 ป ภายในเขตเทศบาลเมืองทุงสง
                       จํานวน 22 ชุมชนที่หลุดจากระบบการศึกษาจํานวน 12 คน ซึ่งจากการประสานงานกับชุมชน

                       เจาหนาที่สาธารณสุข และสวัสดิการสังคม และการลงพื้นที่สํารวจของเจาหนาที่กองการศึกษาพบวา
                       ปญหาดังกลาวเกิดจากหลายสาเหตุ ไดแก (1) ปญหาความเหลื่อมล้ําทางดานเศรษฐกิจ ที่เกิดจาก
                       รายไดของครอบครัวเด็ก และเยาวชนที่ลดลง อันเนื่องมาจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติด

                       เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และปญหาความยากจนขามรุน (จากรุนพอแมสูรุนลูก) ปญหาการติดกับดัก
                       รายไดต่ํา และ (2) ปญหาความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษา เชนครอบครัวไมสามารถจัดหาสมารท
                       โฟนใหเพียงพอตอบุตรในครอบครัวที่มีพี่นองเรียนหนังสือหลายคน รวมทั้งคุณภาพการศึกษา
                                     ปญหาดังกลาวไดสงผลกระทบ 2 ประการแกเด็ก และเยาวชน ไดแก (1) เด็ก และ
                       เยาวชน ไมสามารถเขาถึงระบบการศึกษา และไมสามารถศึกษาตอได ตองทํางานหารายไดรวมกับ

                       ผูปกครอง เพื่อเลี้ยงตนเอง และครอบครัว และ (2) เด็ก และเยาวชน สามารถเขาถึงการศึกษา แต
                       ขาดอุปกรณการเรียน อุปกรณการเรียนออนไลน สงผลดานคุณภาพของผูเรียน


                       ๓.7 เทศบาลเมืองลอมแรด

                              เทศบาลเมืองลอมแรดตั้งอยูในเขตอําเภอเถิน จังหวัดลําปาง โดยมีที่ตั้งสํานักงานอยูเลขที่
                       888 หมู 6 ตําบลลอมแรด อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง ทิศเหนือติดตอกับตําบลแมถอด ตําบลแมปะ

                       ทิศใตติดตอกับตําบลเถินบุรี ทิศตะวันออกติดตอกับตําบลแมมอก ตําบลแมปะ และทิศตะวันตกติดตอ
                       กับตําบลนาโปง ตําบลเถินบุรี ทั้งนี้องคการบริหารสวนตําบลตั้งอยูคอนขางหางไกลจากตัวจังหวัด
                       ลําปาง โดยอยูหางถึง 90 กิโลเมตร ทั้งนี้เทศบาลเมืองลอมแรดมีลักษณะทั่วไปของหนวยงาน บริบท
                       เชิงพื้นที่ และบริบทดานการจัดการศึกษาดังนี้


                              ๓.7.1 ลักษณะทั่วไปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
                                     โครงสรางระบบการเมืองของเทศบาลเมืองลอมแรดจําแนกเปน ฝายบริหาร ไดแก
                       นายกเทศมนตรีเมืองลอมแรด รองนายกเทศมนตรีเมืองลอมแรด 3 ตําแหนง เลขานุการ

                       นายกเทศมนตรีเมืองลอมแรด 3 ตําแหนง และที่ปรึกษานายกเทศมนตรีเมืองลอมแรด 1 ตําแหนง
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185