Page 433 - kpiebook65063
P. 433
ตารางแสดงผลผลิตทางการเกษตร หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งสวน
จำนวน (กก./ไร่) พ.ศ. 2561
ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19 ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร ปี พ.ศ. 2557-2561 9,000 - 12,000
ผลผลิตทางการเกษตร
ลำดับ
พ.ศ. 2557
(ดำเนินการแล้ว)
(ก่อนดำเนินโครงการ)
500 - 600
ข้าวเจ้า
600 - 700
1
9,000 - 10,000
อ้อยโรงงาน
2
3
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
800 - 1,000
700 - 800
มันสำปะหลังโรงงาน
4
3,000 - 4,000
3,000 - 7,000
ตารางแสดงผลผลิตทางการเกษตร หมู่ที่ 11 บ้านหวังใหม่
จำนวน (กก./ไร่)
ลำดับ ผลผลิตทางการเกษตร พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2561
(ก่อนดำเนินโครงการ) (ดำเนินการแล้ว)
ส่วนที่ บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า: ท้องถิ่นกับบริการสาธารณะ
1 ข้าวเจ้า 500 - 600 600 - 700
2 อ้อยโรงงาน 800 - 10,000 800 - 12,000
3 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 700 - 1,000 800 - 1,100
4 มันสำปะหลังโรงงาน 3,000 - 4,000 4,000 - 7,000
ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร ปี พ.ศ. 2557-2561
จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าโครงการทุ่งสวนโมเดลสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ทำให้
พื้นที่ไม่ท่วม ไม่แล้ง ไม่จน แต่ถึงอย่างไรก็ตามในระหว่างดำเนินโครงการโดยเฉพาะประเด็น
ในการจัดหาทรัพยากรตั้งแต่การจัดหาพื้นที่ทำแก้มลิงเปลี่ยนจากพื้นที่ส่วนตัวเป็นพื้นที่สาธารณะ
การสื่อสาร เจรจา ทำความเข้าใจ เป็นกระบวนการที่สำคัญที่ทำให้สามารถได้พื้นที่ในการทำ
แก้มลิงได้ ความร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลนครชุม ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 และ
คณะกรรมการบริหารหมู่บ้าน เจ้าอาวาทวัดพระบรมธาตุนครชุม ถือไว้ว่าเป็นส่วนพลักดันที่สำคัญ
ทำให้สามารถสื่อสาร โน้มน้าว ทำความเข้าใจคนในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี เงินงบประมาณที่ใช้
ในการทำแก้มลิงที่องค์การบริหารส่วนตำบลนครชุมได้รับจัดสรรจากสำนักนายกรัฐมนตรี
ทำให้สามารถจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำแก้มลิงได้ เพราะลำพังเพียงงบประมาณของ
องค์การบริหารส่วนตำบลนครชุม ไม่สามารถที่จะจัดสร้างแก้มลิงได้ เมื่อทางองค์การบริหาร
22 สถาบันพระปกเกล้า