Page 259 - kpiebook65021
P. 259
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
ตำรำง 8.3 ผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามกลุ่มอาชีพ
อำชีพ จ ำนวน
ข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ 6
นักวิชาการ 0
นักธุรกิจ/ภาคเอกชน 0
นักเรียน/นักศึกษา 0
รับจ้างทั่วไป 1
เกษตรกร 5
ค้าขาย 3
อื่น ๆ 6
ไม่ตอบ 2
รวม 23
8.2 กำรรับรู้ ควำมคิดเห็น และกำรแสดงออก
ผลการศึกษาในส่วนนี้แบ่งออกเป็นสองประเด็นหลักเกี่ยวกับการรับรู้ ความคิดเห็น และการแสดงออก
ในกระบวนการนโยบายสาธารณะ ได้แก่ ด้านสิทธิและการมีส่วนร่วม ดังต่อไปนี้
8.2.1 กำรรับรู้ ควำมคิดเห็น และกำรแสดงออกด้ำนสิทธิในกระบวนกำรนโยบำยสำธำรณะ
เมื่อสอบถามการรับรู้สิทธิตามรัฐธรรมนูญในกระบวนการนโยบายสาธารณะ ได้แก่ มาตรา 43 การ
เสนอแนะต่อหน่วยงานรัฐ มาตรา 253 สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และสิทธิตามเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ ผู้ตอบ
ส่วนใหญ่คิดเป็นกว่าร้อยละ 80 รู้ว่าตนมีสิทธิดังกล่าว โดยประเด็นที่รับรู้มากที่สุดคือสิทธิในการรับรู้ข้อมูล
ข่าวสาร รายละเอียดดังตาราง 8.4
ตำรำง 8.4 การรับรู้เกี่ยวกับสิทธิตามรัฐธรรมนูญ
หัวข้อด้ำนสิทธิ:ท่ำนรู้สิทธิเหล่ำนี้หรือไม่ รู้ ไม่รู้ ไม่ตอบ
จ ำนวน ร้อยละ จ ำนวน ร้อยละ จ ำนวน ร้อยละ
1) ท่านรู้ว่า ประชาชนมีสิทธิตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 19 82.61 4 17.39 0 0.00
2560 มาตรา 43 ในการเสนอแนะต่อหน่วยงานรัฐ
เพื่อด าเนินการสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน
2) ท่านรู้ว่า ประชาชนมีสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารจาก 21 91.30 2 8.70 0 0.00
การท างานขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) และเทศบาล ตาม
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มาตรา 253
234